Saturday, April 16, 2011

เจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน

เจียวกู้หลาน , เจียวกู่หลาน, เจียวกูหลาน, เจียวกูหลัน, เจียวกู้หลัน คนไทยเรียก ปัญจขันธ์ หรือ เบญจขันธ์ เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ทั่วๆ ไปในทวีป เอเซีย เป็นพืชล้มลุก คนไทยเข้าใจว่าเจียวกู้หลานเป็นสมุนไพรที่นำเข้ามาจากประเทศจีน แต่จริง ๆ แล้ว เจียวกู้หลานก็มีในประเทศไทย มีมานานแล้ว แต่ในประเทศไทย ไม่มีการจดบันทึกประวัติ คนไทยเรามีหลักฐานปรากฎว่าเริ่มมีการจดบันทึกกันเป็นหลักฐานก็สมัยสุโขทัย เพราะตามประวัติศาสตร์ไทยเริ่มมีการนำอักษรที่พระร่วง หรือ พ่อขุนรามคำแหงมาใช้กัน แต่ในประเทศจีนมีการจดบันทึกกันมาอย่างยาวนาน กล่าวคือ เจียวกู้หลาน , เจียวกู่หลาน, เจียวกูหลาน, เจียวกูหลัน, เจียวกู้หลัน คนไทยเรียก ปัญจขันธ์ หรือ เบญจขันธ์
ว่าเป็นโสมใต้ เป็นอมตะสมุนไพรที่ฮ่องเต้ จีนใช้บำรุงร่างกายเป็นต้น
เจียวกู้หลาน , เจียวกู่หลาน, เจียวกูหลาน, เจียวกูหลัน, เจียวกู้หลัน คนไทยเรียก ปัญจขันธ์ หรือ เบญจขันธ์ ในที่นี้ขอเรียกว่า " เจียวกู้หลาน"


เจียวกู้หลาน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gynostemma pentaphyllum Makino.
ชื่อวงศ์ : Cucurbitaceae
ชื่อภาษาอังกฤษ : Miracle grass (หญ้ามหัศจรรย์),
Southern ginseng (โสมภาคใต้), 5-Leaf ginseng (โสมห้าใบ)
ชื่อจีน : เจียวกู่หลาน เซียนเฉ่า (สมุนไพรอมตะ)
ชื่อญี่ปุ่น : อะมาซาซูรู (ชาหวานจากเถา)
ลักษณะของเจียวกู้หลาน
พืชเป็นพืชล้มลุกชนิดเถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกออกจากข้อเป็นประเภทแตงน้ำเต้า มีใบ 3-5 ใบ ด้านบน และด้านล่างใบมีขนอ่อนสีขาวปกคลุม เป็นพืชขึ้นตามธรรมชาติ ส่วนที่นำมาใช้คือส่วนเหนือดินของพืชที่มีอายุ 4-5 เดือน ขึ้นไป
การศึกษาวิจัยปัญจขันธ์ : เจียวกู้หลานมี 2 ชนิด
1.ชนิดที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ให้เภสัชสารมากกว่าเจียวกู้หลานปลูก
2.เจียวกู้หลานปลูก นำพันธุ์ มาปลูกตามที่ต่าง ๆ
การศึกษาด้านเพาะปลูก
กระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยสถาบันวิจัยสมุนไพร ได้ร่วมมือกับ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ จังหวัดเชียงใหม่ ส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชสมุนไพรในพื้นที่ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปใช้ในงานวิจัยของสถาบัน โดยเบื้องต้นได้คัดเลือก เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ ซึ่งเป็นสมุนไพรที่ทางสถาบันกำลังดำเนินการอยู่ และส่งเสริมให้เกษตรกรในท้องถิ่นปลูกเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น และการศึกษาวิจัยร่วมกันถึงวิธีการปลูก การเก็บเกี่ยว และการขยายพันธุ์ จากการดำเนินการที่ผ่านมาพบว่าผลการผลิต เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์จากพื้นที่ดังกล่าวมีปริมาณสารสำคัญสูงตามเกณฑ ์มาตรฐาน และไม่มีสารปนเปื้อนซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพได้เป็นอย่างดี
การศึกษาวิจัย เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ : การศึกษาด้านเภสัชวิทยา
ผลจากการศึกษาวิจัยในห้องปฏิบัติการพบว่าปัญจขันธ์มีสารที่มีฤทธิ์ในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยให้นอนหลับ รักษาแผล ในกระเพาะอาหารลดระดับไขมันในเลือด เสริมระบบภูมิคุ้มกัน ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งบางชนิด ยับยั้งการเกาะตัวกันของเกร็ดเลือด ต้านอักเสบ และลดระดับน้ำตาลในเลือด เป็นต้น และนอกจากนี้การศึกษาพิษเรื้อรังในสัตว์ทดลองพบว่ามีความปลอดภัย
การศึกษาวิจัย เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ : องค์ประกอบทางเคมี
ข้อมูลการวิจัยของวิจัยชาวจีนและ ญี่ปุ่นพบว่า เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์มีสารสำคัญอยู่หลายชนิดที่พบมา เรียกกันทั่วไปว่า Gypenosides เป็นสารจำพวก Saponin ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยกว่า 80 ชนิด และ เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ยังประกอบด้วยสารสำคัญคือ Gypenosides เป็นสารประเภทไตรเทอร์ปีนซาโปนิน (Triterpene Saponins) ซึ่งมีสูตรโครงสร้าง คล้ายคลึงกับ
Ginsenosides ที่พบในโสม (Panax ginseng) นอกจากนี้ซาโปนิน ที่พบใน เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์มีจำนวน 82 ชนิด แต่ซาโปนินที่พบในโสมมีเพียง 28 ชนิด ในจำนวนนี้มี 4 ชนิดที่เหมือนกัน ได้แก่ Gypenosides Rb1 (Gypenoside III หรือ Gynosaponin C), Ginsenosides Rb3 (Gypenoside IV), Ginsenoside Rd (Gypenoside VIII), และ Ginsenoside F3, (Gypenoside XII) นอกจากนี้ยังมี Gypenosides อีก 11 ชนิด ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับ Ginsenosides การใช้ประโยชน์ส่วนนี้จะแตกต่างกันบ้าง กล่าวคือ โสมเป็นสมุนไพรร้อน แต่ เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ เป็นสมุนไพรเย็น

การศึกษาวิจัย เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ : องค์ประกอบทางเคมีในห้องทดลอง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ดำเนินการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเจียวกู่หลานต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบอาศัยเซลล์ของหนูถีบจักรที่ถูกกดภูมิคุ้มกันโดยการ ฉายรังสีแถบแกมมาขนาด 4 Gy ก่อนให้สารสกัดขนาด 32 มก./กก./วัน และขนาด 160 มก./กก./วัน เป็นเวลา 10 วัน พบว่าการแบ่งตัวของ
ลิมโฟซัยท์เมื่อถูกกระตุ้นด้วย PHA, LPS และ ConA กลับสู่สภาวะปกติในวันที่ 15 ของการศึกษา เมื่อทดสอบโดยใช้ mononuclear cells จากกระแสเลือดของคนปกติ พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานช่วยเพิ่มการ แบ่งตัวของ ลิมโฟซัยท์ อย่างมีนัยสำคัญที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 1 ng/ml ถึง 100 g/ml รวมทั้งแสดงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์เอชไอวีโปรทีเอสในหลอดทดลองได้ผลดี
เมื่อทดสอบความเป็นพิษทั้งพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของสารสกัดเจียวกู่หลานในหนูขาว พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานมีความปลอดภัยสูงแม้ว่าจะให้สารสกัดในขนาดสูงถึง 750 มก./กก./วัน
จากการศึกษาความปลอดภัยของสารสกัดเจียวกู่หลานในอาสาสมัครจำนวน 30 ราย โดยกำหนดเกณฑ์คัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ และเกณฑ์การเลิกการเข้าร่วมการศึกษาอย่างชัดเจน
มีการสัมภาษณ์ ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการทุก 2 สัปดาห์เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา ทางชีวเคมีของซีรัม และต่อระบบภูมิคุ้มกัน โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ 3 เดือน
โดยคัดเลือกอาสาสมัครตามเกณฑ์ที่กำหนด แบ่งอาสาสมัครเป็น 2 ชุดๆละ 15 คน ให้อาสาสมัครชุดที่ 1 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล)
หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน และอาสาสมัครชุดที่ 2 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) หลังอาหาร วันละ 2 ครั้ง
เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน เพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการเสริมภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อให้อาสาสมัครรับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1-2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) วันละ 2 ครั้ง ติดต่อกันนาน 2 เดือน มีความปลอดภัย และไม่พบอาการผิดปกติใดๆ ดังนั้นจึงสมควรศึกษาประสิทธิผลทางคลินิกเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อไป
การใช้ประโยชน์
สรรพคุณ ทั้งต้นตั้งแต่ยอดถึงรากมีส่วนประกอบสำคัญเท่ากับโสมถึง 6 ชนิดรวมกัน ช่วยเสริมสร้างพลัง ช่วยรักษาโรคเฉียบพลันและร้ายแรงของคนวัยกลางคนจนถึงวัยชรา เช่น โรคเส้นเลือดใหญ่อุดตัน ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่ำ เบาหวาน หอบหืด และโรคมะเร็ง นอกจากนั้นยังช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายให้เข้มแข็ง มีพลัง ทำให้ร่างกายมีความต้านทานโรค ระบาดได้ และรู้สึกกระชุ่มกระชวย "ฟื้นความหนุ่มสาว" กลับคืนมาอย่างน่าอัศจรรย์ยิ่ง ซึ่งผลการศึกษาวิจัยช่วยให้นอนหลับดี ต้านอนุมูลอิสระ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ลดระดับไขมันในเลือด เสริมระบบภูมิคุ้มกันยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง ยับยั้งการเกาะตัวของเกล็ดเลือด เสริมส่งกระบวนการเมตตาบอริซึ่ม ลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมาก
ข้อมูลการวิจัยเพิ่มเติม

ในปี 2543 กรมวิชาการเกษตร ร่วมกับ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ทำการวิจัยพบสารต้านอนุมูลอิสระเพิ่มอีก ถึง 3 ชนิด คือ เควอซิติน ( Quercetin ) เคมเฟอรอล ( Kaempferol ) เป็นสารกลุ่ม ฟลาโวนอยส์ ( Flavonoids ) มีคุณสมบัติ: ป้องกันการดูดซึมของน้ำตาลในลำไส้เล็ก ทำให้กระแสเลือดหมุนเวียนดี และหลอดเลือดแข็งแรง ยับยั้งการก่อสารมะเร็งเลือด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ ลดอาการแพ้ ยืดอายุเม็ดเลือดขาว โพลีฟีนอล (Polyphenols) มีฤทธิ์ป้องกันอนุมูลอิสระ ลดความเครียด เนื่องมากจากความไม่สมดุลของร่างกาย ป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดแข็งตัว ลดความเสี่ยงการเกิดโรคหลอกเลือดหัวใจ มะเร็งลำไส้ และ มะเร็งกระเพาะอาหาร ลดคลอเรสเตอรอล เจียวกู่หลาน ช่วยปรับลดระดับคลอเลสเตอรอลชนิด LDL กรดไขมันที่เสีย ที่ทำให้เกิดการอุดตันที่หลอดเลือดหัวใจ จึงเท่ากับ ลดความเสี่ยงในการเกิดหัวใจวายเฉียบพลัน รักษาสมดุลให้รดไขมัน ชนิด HDL กรดไขมันดี ทำให้เกิดการเผาผลาญไขมันได้ดี และลดกรดไขมันอิสระที่เกิดขึ้นเกิดจากการแปรสภาพของกรดไขมันเสีย อีกทั้งเจี่ยวกู้หลานนั้นยังเป็นสมุนไพรประเภทชงคล้ายชา ( ไม่รวมชา ) แต่จะไม่มีสารคาเฟอีน จึงไม่ทำให้เรานอนไม่หลับ
อ้างอิง จากสาราณุกรม เสรี

มะเร็งลำไส้

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมะเร็งลำไส้
เป็นมะเร็งของผู้ใหญ่ พบบ่อยเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งทั้งหมดทั้งในเพศชายและเพศหญิงทั่วโลก พบมากในประเทศ แถบอเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ยุโรปเหนือ และยุโรปตะวันตก สำหรับในประเทศไทย พบว่าเป็นมะเร็งที่พบ เป็นอันดับ 4 ของมะเร็งทั้งหมดทั้งในเพศชายและเพศหญิงและมากกว่าร้อยละ 90 มักพบในคนที่มีอายุมากกว่า 50 ปี ขึ้นไปโดยจะพบเพศชายมากกว่าเพศหญิงเล็กน้อย
ปัจจัยเสี่ยง
1. การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูงและมีกากหรือไฟเบอร์น้อย
2. ประวัติการมีเนื้องอกหรือภาวะที่มีการอักเสบของเนื้อเยื่อลำไส้ใหญ่ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีโอกาสเพิ่มการเกิด มะเร็งลำไส้มากขึ้น
3. ประวัติการมีมะเร็งลำไส้ในครอบครัว หรือมะเร็งอื่นๆ เช่น มะเร็งรังไข่ มะเร็งมดลูก และมะเร็งเต้านม พบว่ามีโอกาสเกิดมะเร็งลำไส้มากกว่าคนทั่วไป
อาการและอาการแสดง
อาการของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของโรค โดยทั่วไปอาการที่พบบ่อยที่สุดคือ ปวดท้อง ส่วนอาการอื่นๆ ที่พบร่วมด้วย ได้แก่ การมีประวัติท้องผูกสลับท้องเสีย (change in bowel habit), คลื่นไส้อาเจียน, ท้องอืด, ถ่ายเป็นเลือด, อ่อนเพลียเบื่ออาหารหรือน้ำหนักลด และอาจพบก้อนในท้อง
การตรวจเพื่อวินิจฉัย
1. ซักประวัติและตรวจร่างกาย
2. เมื่อสงสัยมะเร็งลำไส้ แพทย์อาจตรวจเพิ่มเติมด้วยการเอกซเรย์สวนแป้งทางทวาร รวมทั้งการส่องกล้อง เพื่อประเมินขนาด ตำแหน่ง และลักษณะของรอยโรค การตัดชิ้นเนื้อเพื่อยืนยันสามารถทำได้ในระหว่างการส่องกล้อง มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการวินิจฉัย นอกจากนั้น การตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อหาระยะของโรค
3. การตรวจเอ็กเซร์ปอด การอัลตราซาวน์ตับ เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค
4. การตรวจเลือด ดูการทำงานของไขกระดูก ตับ ไต
การตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ ในผู้ป่วยแต่ละรายแตกต่างการ ทั้งนี้จะเป็นไปตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
ระยะของโรค

มะเร็งลำไส้ แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 – ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็ก ยังอยู่เฉพาะในตัวลำไส้ใหญ่
ระยะที่ 2 – ก้อนมะเร็งลุกลามออกมาทะลุเนื้อเยื่อของลำไส้ใหญ่ แต่ยังไม่มีการลุกลามไปต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียง
ระยะที่ 3 – ก้อนมะเร็งอาจลุกลามออกมาทะลุเนื้อเยื่อของลำไส้หรือไม่ก็ได้ แต่มีการลุกลามไปต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียง
ระยะที่ 4 – ก้อนมะเร็งลุกลามเข้าอวัยวะใกล้เคียง หรือมีการกระจายไปต่อมน้ำเหลืองไกลๆ หรือกระจายไปยัง อวัยวะอื่นๆที่อยู่ไกลออกได้ ได้แก่ ปอด ตับ เป็นต้น
การรักษา
การรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ การรักษาหลักในกรณีที่โรคยังไม่แพร่กระจาย คือ การผ่าตัด
การผ่าตัด การผ่าตัดเป็นการตัดเอาก้อนมะเร็งออกและลำไส้บางส่วนร่วมกับต่อมน้ำเหลืองในบริเวณนั้นออก การฉายรังสี และ/หรือยาเคมีบำบัด นิยมใช้เป็นการรักษาเสริม เพื่อเพิ่มผลการรักษาในดียิ่งขึ้น ปัจจุบันมีหลายลักษณะ ซึ่งอาจจะให้ก่อนหรือหลังการผ่าตัด ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์คำนึงจากระยะของโรคและผู้ป่วยเป็นรายๆ ไป สำหรับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ในระยะที่ 4 ไม่สามารถผ่าตัดได้หรือมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ จุดมุ่งหมายในการ รักษาจะเป็นการประคับประคองอาการ มักจะเริ่มด้วยการในยาเคมีบำบัด สำหรับการฉายรังสีอาจจะช่วยได้ในกรณี การรักษาเพื่อบรรเทาอาการจากเจ็บเวลาถ่าย ปวดทวารหนักจากตัวก้อน หรืออาการปวดของการกระจายของมะเร็ง ไปยังอวัยวะอื่นๆ
การติดตามการรักษา
เมื่อได้รับการรักษาครบเรียบร้อยแล้ว โดยทั่วไปแพทย์จะนัดติดตามอาการ โดยในช่วง 1-2 ปีแรก หลังการรักษา อาจนัดติดตามอาการทุก 1-2 เดือน ปีที่ 3-5 หลังการรักษา อาจนัดตรวจทุก 2-3 เดือน ในปีที่ 5 อาจนัดตรวจทุก 6-12 เดือน
http://www.chulacancer.net/newpage/information/colon_cancer/general-information.html

Saponins

ในพืชและผลข้างเคียงได้รับประโยชน์ซาโปนินโดย คุณพ่อเรย์ Sahelian, MD ซาโปนินไกลโคไซด์และการสกัด
Saponins ที่พบในพืชหลายชนิดและในราชอาณาจักรสัตว์ Saponins มีลักษณะเป็นฟองเนื่องจากคุณสมบัติลดแรงตึงผิวของพวกเขา

ฤทธิ์ทางชีวภาพของ saponins
Saponins มี hemolytic, expectorative, ต้านการอักเสบและ ภูมิคุ้มกัน กระตุ้นกิจกรรม - นอกเหนือจากนั้นแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติของยาต้านจุลชีพ saponins โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเชื้อราและนอกจากนี้เชื้อแบคทีเรียและโปรโตซัว

เคมีของ saponins
Saponins เป็นสารประกอบที่ซับซ้อนซึ่งประกอบด้วย triterpene saccharide ที่แนบมากับเตียรอยด์หรือ การสังเคราะห์ของ saponins

แหล่งที่มาของ saponins
Saponins ที่พบในพืชจำนวน ในราชอาณาจักรสัตว์ saponins ที่พบในที่สุด แตงกวาทะเล และปลาดาว

Saponins ที่พบในรวมทั้งจำนวนของอาหารและสมุนไพร :
หญ้าชนิตหนึ่ง สมุนไพร
Agave พืช
Bacopa Monierri -- Bacoside, ส่วนประกอบออกฤทธิ์ทางชีวภาพโดยคำกล่าวของอินเดีย Bacopa monnieri พืชสมุนไพรถูกพบว่าเป็นองค์ประกอบส่วนผสมของ saponins bacoside กับ A3, bacopaside II jujubogenin, isomer bacopasaponin bacopasaponin ของ C และ C ที่สำคัญเป็น
Diosgenin คือซาโปนินที่สกัดจาก steroidal (รากของป่ายาม Dioscorea )
เมล็ดฟีนูกรีก สมุนไพร
โสม -- Ginsenoside องค์ประกอบในโสมสมุนไพรของต้นกำเนิดที่แตกต่างกันของความแปรปรวนมาก ซาโปนินเนื้อหาโดยรวมแตกต่างกัน 10 เท่า Chikusetsu ninjin - มาจาก japonicus Panax (ญี่ปุ่น) พบว่ามีเนื้อหามากที่สุด (192.80-296.18 mg / g) และโสมจากโสม Panax จะต่ำสุด
หัวหอมใหญ่หลากหลายสีแดง --
พริกหยวก
ถั่วเหลืองถั่ว -- ถั่วเหลืองมีหลากหลายของสารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีศักยภาพ ในบรรดาสารเหล่านี้มีคุณสมบัติคล้ายและ saponins ล่าสุดสิ่งพิมพ์อธิบายกิจกรรมต้านมะเร็งของดิบและถั่วเหลืองบริสุทธิ์ saponins มีจุดประกายความสนใจในสารเหล่านี้ซึ่งได้ทำใหม่
Tribulus terrestris สารสกัดมีการขายมักจะอยู่ในความเข้มข้นของซาโปนินร้อยละ 40

ซาโปนินการศึกษาวิจัย
saponins antispasmodic จากหัวของหอมใหญ่สีแดง cepa, Allium var L. Tropea
J Agric Food Chem 2005 23 กุมภาพันธ์; 53 (4) :935 - 40
การวิเคราะห์ทางพฤกษเคมีของสารสกัดจากขั้วหลอดไฟสีแดงของ Allium cepa L. var Tropea, โดยทั่วไปของ Calabria, ภาคใต้ของอิตาลีได้ใช้งานอย่างกว้างขวางเป็นครั้งแรกที่นำไปสู่การแยกของสี่ saponins furostanol ใหม่ชื่อ tropeoside A1/A2 (1a/1b) และ B1/B2 tropeoside (3a/3b) พร้อมกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้า O - methyl - 22 ตามลำดับ (2a/2b และ 4a/4b), เกือบแน่นอน artifacts สกัด ปริมาณสูง A1/A2 ascalonicoside (5a/5b) และ ascalonicoside B (6) ที่แยกออกมาก่อนหน้านี้จาก Hort Allium ascalonicum., นี้ยังได้พบ นี้เป็นรายงานแรกของ saponins furostanol ในนี้หลากหลาย A. cepa ความเข้มข้นสูงของสาร quercetin, quercetin 4 (I) - glucoside, taxifolin, taxifolin 7 - glucoside, และเฟนนิลยังถูกแยก saponins ใหม่พบว่ามีกิจกรรม antispasmodic ในหนูตะเภาที่แยก ileum; ผลกระทบดังกล่าวอาจนำไปสู่การอธิบายการใช้แบบดั้งเดิมของหัวหอมในการรักษาของการแปรปรวนของระบบทางเดินอาหาร

[การสืบสวนในการยับยั้งและ apoptosis - inducing ผลกระทบของ saponins จาก Tribulus terrestris ในเซลล์ตับ BEL - 7402]
Zhongguo Zhong Yao Za Zhi กรกฎาคม 2004; 29 (7) :681 - 4
ในการตรวจสอบและยับยั้งการเกิด apoptosis - inducing ผลกระทบของ saponins จาก Tribulus terrestris ในเซลล์มะเร็งตับสาย BEL - 7402 วิธีการ : MTT, SRB, Wright ย้อมสีย้อมสีส้ม acridine, โฟ, และอิมมูโนกล้องจุลทรรศน์ในการประเมินผลกระทบของการ STT บน BEL เซลล์เส้น - 7402 SMT มีผลยับยั้งเซลล์ที่มีศักยภาพในสาย BEL - 7402 ในลักษณะความเข้มข้นขึ้นกับ BEL - 7402 การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยา exibited เซลล์ปกติของการตายเมื่อย่อย G1 อาจจะเห็นจุดสูงสุด 2 การแสดงออกของ Bcl - มีค่าลดลงใน terrestris tribulus ซาโปนินรับการรักษาเมื่อเทียบกับเซลล์เป็นเซลล์ที่ควบคุมไม่ถูกรักษา Tribulus terrestris exerts ผลกระทบที่มีต่อความเป็นพิษต่อ BEL - 7402 เซลล์โดย inducing apoptosis

Sterols พิษเพิ่มเติมและ saponins จาก semiregularis certonardoa ปลาดาว
J Nat Prod ตุลาคม 2004; 67 (10) :1654 - 60
สิบสองใหม่ (1-7, 9-13) polyhydroxysterols และสอง saponins ใหม่ (14 และ 15) ถูกแยกจาก semiregularis Certonardoa ปลาดาว by - แนะนำลำดับส่วนกิจกรรม สาร 1-7 เป็นตัวอย่างที่หายากของ - คีโตเตียรอยด์ 15 จากปลาดาว โซ่ข้างของสารประกอบ 11 ซึ่งยังเป็นประวัติการณ์ในธรรมชาติ โครงสร้างได้รับการพิจารณาโดยวิธีทางสเปกโทรสโกรวมและอนุพันธ์เคมี สารเหล่านี้ประเมินความเป็นพิษต่อกับแผงขนาดเล็กของมนุษย์เซลล์เนื้องอกที่เป็นของแข็งและส่วนมากของพวกเขาแสดงฤทธิ์มาก หนึ่งใน Sterols 15 - คีโต (6) แสดงความแรงสูงสุดซึ่งเทียบได้กับที่ของ doxorubicin

Saponins จากพืชตระกูลถั่วกินได้ : เคมี, การประมวลผลและประโยชน์ต่อสุขภาพ
J Med อาหาร ฤดูใบไม้ผลิ 2004; 7 (1) :67 - 78
ชิ J, K Arunasalam, Yeung D, Y Kakuda, G Mittal, Jiang Y.
ศูนย์อาหาร Guelph วิจัยการเกษตรและอาหารเกษตรแคนาดา, Guelph, Ontario, Canada
ความต้องการสินค้าเพราะถั่วมีการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ของหลายองค์ประกอบการส่งเสริมสุขภาพในถั่วกินได้เช่น saponins Saponins มีสารประกอบที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมีการกระจายอย่างกว้างขวางในทุกเซลล์ของพืชตระกูลถั่ว Saponins ซึ่งได้มาซึ่งชื่อนี้มาจากความสามารถในการฟอร์มมั่นคงโฟม soaplike ในสารละลายน้ำ, ประกอบและกลุ่มความหลากหลายทางเคมีของสารที่ซับซ้อน ในแง่เคมี, saponins มีคาร์โบไฮเดรตครึ่งแนบกับ triterpenoid หรือเตียรอยด์ Saponins จะดึงดูดความสนใจมากเป็นผลลัพธ์ที่มีความหลากหลายของคุณสมบัติของพวกเขาทั้งอันตรายและเป็นประโยชน์ การศึกษาทางคลินิกได้ชี้ให้เห็นว่าองค์ประกอบเหล่านี้ - ส่งเสริมสุขภาพ, saponins, ผลต่อระบบภูมิคุ้มกันด้วยวิธีการที่ช่วยปกป้องร่างกายมนุษย์กับมะเร็งและยังลดระดับคอเลสเตอรอล Saponins ไขมันในเลือดลดลง, ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งและน้ำตาลในเลือดต่ำการตอบสนอง ซาโปนินอาหารสูงสามารถนำมาใช้ในการยับยั้งการรวมตัวของฟันผุและเกล็ดเลือดในมนุษย์ในการรักษาของ hypercalciuria และเป็นพิษเฉียบพลันต่อยาแก้พิษตะกั่ว ในการศึกษาทางระบาดวิทยา, saponins ได้รับการแสดงที่มีความสัมพันธ์ผกผันกับหินอุบัติการณ์ของไต กระบวนการให้ความร้อนเช่นการบรรจุกระป๋องเป็นวิธีการทั่วไปในการประมวลผลถั่ว การศึกษาครั้งนี้แสดงความคิดเห็นต่อผลของกระบวนการให้ความร้อนต่อคุณลักษณะและความมั่นคงของ saponins ในผลิตภัณฑ์ถั่วกระป๋อง Saponins มีความร้อนมีความละเอียดอ่อน ในระหว่างการแช่และการลวก, บางส่วนของ saponins ที่ละลายในน้ำและการสูญเสียในการสุราแช่, ซักผ้า, และลวก กระบวนการความร้อนที่เหมาะสมสามารถเพิ่มความมั่นคงและรักษา saponins ในผลิตภัณฑ์ถั่วกระป๋องที่มีประโยชน์สำหรับการให้ความช่วยเหลืออุตสาหกรรมอาหารเพื่อปรับปรุงเทคโนโลยีการประมวลผลความร้อนและเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์ถั่ว

การแยกซาโปนินใหม่และผลทดสอบความเป็นพิษของ saponins จากรากของ grandiflorum Platycodon ต่อเซลล์มะเร็งของมนุษย์
Planta Med มิถุนายน 2005; 71 (6) :566 - 8
นวนิยายซาโปนิน triterpenoid, E deapioplatycoside (1) ที่แยกได้จากรากของสารสกัดจาก grandiflorum Platycodon ร่วมกับเจ็ด saponins ที่รู้จักกัน 2 -- 8, คือ, E platycoside (2), D3 deapioplatycodin (3), D3 platycodin (4), D2 polygalacin (5), D2 platycodin (6), deapioplatycodin D (7) และ platycodin D (8) ซาโปนินส่วนมันดิบ (ED50 :. ประมาณ 10 -- 15 microg / มิลลิลิตร) และสาร 6 -- 8 แสดงการยับยั้งอย่างมีนัยสำคัญ) การแพร่กระจายของห้าชนิดของเซลล์มะเร็งของมนุษย์ที่เพาะเลี้ยงเส้นคือ A549 ขนาดเล็กเซลล์ไม่ (ปอด, SK - OV - 3 (รังไข่), SK - MEL - 2 (Melanoma), XF498 (ระบบประสาทส่วนกลาง) และ HCT - 15 (ลำไส้ใหญ่) ในหลอดทดลอง

คำถามที่
ฉันต้องการทราบว่ามันเป็นความจริงที่ saponins สามารถช่วยให้ตับอ่อนทำงานตามปกติอีกครั้ง
มีโรคต่างๆที่เป็นสมุนไพรต่างๆมีชนิดของ saponins ในพวกเขาและตับอ่อนมีหลายชนิด ดังนั้นคำถามนี้กว้างเกินไปที่จะสามารถให้คำตอบที่เฉพาะเจาะจง

Quercetin

Quercetin อยู่ในกลุ่มของสารที่เรียกว่า flavonoids พืชที่ให้ผลไม้หลายดอกและผักสีของพวกเขา
เช่น flavonoids quercetin มีสารต้านอนุมูลอิสระ -- ต่อต้าน อนุภาคสร้างความเสียหายในร่างกายที่เรียกว่าอนุมูลอิสระที่เยื่อหุ้มเซลล์เกิดความเสียหายความยุ่งเกี่ยวกับดีเอ็นเอและยังก่อให้เกิดการตายของเซลล์
สารต้านอนุมูลอิสระสามารถต่อต้านอนุมูลอิสระและอาจจะลดลงหรือแม้กระทั่งช่วยป้องกันไม่ให้บางส่วนของพวกเขาก่อให้เกิดความเสียหาย นอกจากนี้ยังช่วยให้ LDL ("ไม่ดี") คอเลสเตอรอลจากการเสียหายซึ่งนักวิทยาศาสตร์คิดว่าอาจนำไปสู่​​การเป็นโรคหัวใจ ในหลอดทดลอง, quercetin มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระที่แข็งแกร่ง แต่นักวิจัยไม่แน่ใจว่าการ quercetin (และสารต้านอนุมูลอิสระอื่น ๆ อีกมากมาย) มีผลเดียวกันในร่างกาย
quercetin การกระทำเช่น antihistamine และต้านการอักเสบและอาจช่วยป้องกันโรคหัวใจและโรคมะเร็ง
ภูมิแพ้, หอบหืดไข้ละอองฟางและลมพิษ
ในหลอดทดลอง, quercetin ป้องกันไม่ให้เซลล์ภูมิคุ้มกันจาก histamines ปล่อยสารเคมีที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ บนพื้นฐานที่นักวิจัยคิดว่าสาร quercetin ที่อาจช่วยลดอาการของโรคภูมิแพ้รวมทั้งอาการน้ำมูกไหล, น้ำตาไหล, ลมพิษและอาการบวมของใบหน้าและริมฝีปาก อย่างไรก็ตามมีหลักฐานใดเป็นอีกว่าการทำงานในมนุษย์
โรคหัวใจ
หลอดทดสอบ, สัตว์, และบางการศึกษาประชากรที่ใช้แสดงให้เห็นว่า flavonoids quercetin Resveratrol,, และ catechins (ทั้งหมดที่พบในความเข้มข้นสูงในไวน์แดง) อาจช่วยลดความเสี่ยงของหลอดเลือด (คราบจุลินทรีย์สร้างขึ้นในหลอดเลือดที่จะนำไปสู่​​หัวใจวาย หรือโรคหลอดเลือดสมอง) สารอาหารเหล่านี้จะปรากฏเพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากการ LDL ("ไม่ดี") คอเลสเตอรอลและอาจช่วยป้องกันการตายจากโรคหัวใจ แต่มนุษย์ส่วนใหญ่จะมีการศึกษามองที่ flavonoids ในอาหารที่ไม่เป็นอาหารเสริม การศึกษาสัตว์ได้ใช้จำนวนเงินที่มีขนาดใหญ่มากของ flavonoids (มากกว่าจะสามารถเข้ามาผ่านเสริม) การศึกษาเพิ่มเติมในผู้ที่มีความจำเป็นเพื่อดูว่าผลิตภัณฑ์เสริม flavonoid ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คอเลสเตอรอลสูง
การศึกษาการทดสอบหลอดแสดง quercetin ที่ป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อคอเลสเตอรอลและการศึกษาประชากรแสดงให้เห็นว่าผู้ที่กินอาหารที่มีสูงใน flavonoids ลดคอเลสเตอรอล หนึ่งการศึกษาพบว่าคนที่เอา quercetin และไวน์แดงปราศจากแอลกอฮอล์สกัด (ซึ่งมี quercetin) มีความเสียหายน้อยกว่าคอเลสเตอรอล การศึกษาเพิ่มเติมมีความจำเป็น แต่เพื่อแสดงว่าการเสริม quercetin จะมีผลเช่นเดียวกัน
ความดันเลือดสูง
การศึกษาแสดงว่าการเสริม quercetin ช่วยลดความดันโลหิตในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง
interstitial cystitis
สองการศึกษาขนาดเล็กที่แนะนำให้ผู้ที่มี cystitis interstitial อาจได้รับประโยชน์จาก flavonoids ผู้ที่มีสภาพนี้มีอาการปวดกระเพาะปัสสาวะซึ่งคล้ายกับการติดเชื้อกระเพาะปัสสาวะและมักจะได้รับจำเป็นเร่งด่วนในปัสสาวะ ในการศึกษาทั้งสองคนที่เอาเสริม quercetin ที่มีปรากฏว่ามีอาการน้อยลง อย่างไรก็ตามการศึกษารวม flavonoids อื่น ๆ ดังนั้นจึงไม่เป็นที่รู้จักที่หนึ่งที่อาจมีผลประโยชน์มากที่สุด การศึกษาเพิ่มเติมและดีกว่าที่ออกแบบมีความจำเป็น
ต่อมลูกหมากอักเสบ
บางหลักฐานเบื้องต้นแสดง quercetin ที่อาจลดอาการของต่อมลูกหมากอักเสบ (การอักเสบของต่อมลูกหมาก) หนึ่งการศึกษาขนาดเล็กพบว่าผู้ชายที่เอา quercetin มีการลดลงในอาการเมื่อเทียบกับคนที่เอายาหลอก การศึกษามีขนาดเล็ก แต่และผลจำเป็นต้องได้รับการยืนยันโดยการศึกษาอื่น ๆ
โรคไขข้ออักเสบ (RA)
มีรายงานของผู้ที่มี RA ที่มีอาการน้อยลงเมื่อพวกเขาเปลี่ยนจากอาหารตะวันตกโดยทั่วไปในอาหารมังสวิรัติที่มีจำนวนมากของผลเบอร์รี่สด, ผลไม้, ผัก, ถั่ว, ราก, เมล็ดและต้นกล้าที่มีสารต้านอนุมูลอิสระรวมทั้งมีสาร quercetin แต่ไม่มีหลักฐานว่ามีผลในเชิงบวกเนื่องจากโดยตรงกับสารต้านอนุมูลอิสระและไม่มีหลักฐานว่าผลิตภัณฑ์เสริม quercetin จะช่วยรักษา RA
โรคมะเร็ง
flavonoids quercetin และอื่น ๆ ที่มีอยู่ในผักและผลไม้ นักวิทยาศาสตร์ได้พิจารณายาวที่สำคัญในการป้องกันโรคมะเร็ง ผู้ที่กินผักผลไม้มีแนวโน้มที่จะมีการลดความเสี่ยงของโรคมะเร็งบางชนิด สัตว์และการศึกษาการทดสอบหลอด flavonoids ขอแนะนำให้ทำแน่นอนมีคุณสมบัติป้องกันมะเร็ง flavonoids quercetin และอื่น ๆ ได้รับการแสดงในการศึกษาเหล่านี้เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งจากเต้านมลำไส้ใหญ่และต่อมลูกหมาก, รังไข่, เยื่อบุโพรงมดลูกและเนื้องอกปอด อย่างไรก็ตามการวิจัยมากขึ้นเป็นสิ่งจำเป็น
แหล่งที่มาของอาหาร :
ผักและผลไม้ -- ผลไม้โดยเฉพาะส้ม, แอปเปิ้ล, หัวหอม, ผักชีฝรั่ง, น้ำชาและไวน์แดง -- เป็นแหล่งอาหารหลักของสาร quercetin น้ำมันมะกอก, องุ่น, เชอร์รี่สีเข้มและผลเบอร์รี่สีเข้ม -- เช่นบลูเบอร์รี่, blackberries, และ bilberries -- นอกจากนี้ยังมีสูงใน flavonoids, quercetin รวมทั้ง

อ้างอิงจาก http://translate.google.co.th/translate?hl=th&sl=en&u=http://www.umm.edu/altmed/articles/quercetin-000322.htm&ei=rgqpTZvTBIzrrQemxo2nCA&sa=X&oi=
translate&ct=result&resnum=1&ved=0CCMQ7gEwAA&prev=/search%3Fq%3Dhttp://www.umm.edu/altmed/articles/quercetin-000322.htm%26hl%3Dth%26biw%3D1024%26bih%3D641%26prmd%3Divns

โพลีฟีน : สารต้านอนุมูลอิสระ

โพลีฟีน : สารต้านอนุมูลอิสระ
งานวิจัยเกี่ยวกับผลของโพลีฟีนอาหารต่อสุขภาพของมนุษย์ได้มีการพัฒนามากในอดีต 10 วาย มันขอสนับสนุนบทบาทสำหรับโพลีฟีนในการป้องกันโรคเสื่อมโรคหัวใจและหลอดเลือดและโรคมะเร็งโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณสมบัติของสารต้านอนุมูลอิสระโพลีฟีนได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง แต่ก็เป็นที่ชัดเจนว่ากลไกการออกฤทธิ์ของโพลีฟีนไปไกลกว่าการมอดูเลตของความเครียดออกซิเด นี้ปัญหาเพิ่มเติมของอเมริกันวารสารคลินิกโภชนาการที่เผยแพร่ในสุขภาพโอกาสที่ 1 การประชุมหารือและโพลีฟีนและข้อเสนอทางระบาดวิทยาสุขภาพภาพรวมการทดลองทางคลินิกและหลักฐานของผลกระทบของโพลีฟีนบน

คำสำคัญ : โพลีฟีน•สารต้านอนุมูลอิสระ flavonoids •สุขภาพ••โรคหัวใจ•โรคมะเร็ง

เป็นสารต้านอนุมูลอิสระโพลีฟีนที่มีมากที่สุดในอาหาร การบริโภคสารอาหารของพวกเขาทั้งหมดอาจจะสูงถึง 1 กรัม / วันซึ่งสูงกว่าที่ของชั้นเรียนอื่น ๆ ทั้งหมดของ
phytochemicals และสารต้านอนุมูลอิสระในอาหารที่รู้จักกัน สำหรับมุมมองนี้เป็น ~ 10 ครั้งสูงกว่าการรับประทานวิตามินซีและ 100 เท่าของระดับสูงที่การบริโภคของวิตามินอีและ
Carotenoids ( 1 , 2 ) แหล่งที่มาของอาหารหลักเป็นผลไม้และเครื่องดื่มที่ได้จากพืชเช่นน้ำผลไม้, ชา, กาแฟและไวน์แดง ผัก, ธัญพืช, ช็อคโกแลตและพืชตระกูลถั่วแห้งยังนำไปสู่​​การบริโภคโพลีฟีนทั้งหมด

แม้จะมีการกระจายกว้างของพวกเขาในพืช, ผลกระทบต่อสุขภาพของโพลีฟีนอาหารก็มาถึงความสนใจของโภชนาการเท่านั้น แต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ จนถึงกลางปี​​ 1990,
การศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระอย่างกว้างขวางมากที่สุดคือวิตามินสารต้านอนุมูลอิสระ, Carotenoids, และแร่ธาตุ งานวิจัยเกี่ยวกับ flavonoids และโพลีฟีนอื่น ๆ ,
คุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระของพวกเขาและผลกระทบของพวกเขาในการป้องกันโรคอย่างแท้จริงเริ่มต้นขึ้นหลังจากที่ 1995 รูป (1 ) flavonoids
แทบจะไม่ถูกพูดถึงในหนังสือเรียนที่สารต้านอนุมูลอิสระที่ประกาศก่อนวันที่ ( 3 ) ปัจจัยหลักที่มีความล่าช้างานวิจัยเกี่ยวกับโพลีฟีน
คือความหลากหลายมากและความซับซ้อนของโครงสร้างทางเคมี

ขอหลักฐานปัจจุบันสนับสนุนการมีส่วนร่วมของโพลีฟีนเพื่อการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคกระดูกพรุนของโรคมะเร็งและและชี้ให้เห็นบทบาทใน (neurodegenerative
การป้องกันโรคเบาหวานและ mellitus 4 ) อย่างไรก็ตามความรู้ของเรายังคงปรากฏ จำกัด เกินไปสำหรับการกำหนดข้อเสนอแนะสำหรับประชาชนทั่วไปหรือสำหรับกลุ่มเป้า
หมายเฉพาะที่มีความเสี่ยงของโรคเฉพาะ หลักฐานสำหรับ flavonoids ลดความเสี่ยงโรคโดยมีการพิจารณา"ไปได้"สำหรับโรคหัวใจและหลอดเลือดและ"ไม่เพียงพอ"
สำหรับโรคมะเร็งในรายงานล่าสุดจากองค์การอนามัยโลก ( 5 ) วัตถุประสงค์ของการประชุมนานาชาติครั้งที่ 1 ในโพลีฟีนและสุขภาพ (Vichy, ฝรั่งเศส, 18-21 พฤศจิกายน, 2004)
ได้นำเสนอภาพรวมของความรู้ในปัจจุบันของเราในสมาคมระหว่างปริมาณโพลีฟีนและโรคและสุขภาพและเพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นสำคัญที่รอความละเอียด มากกว่า 350 การสื่อสารจาก>
30 ประเทศถูกนำเสนอ บทความที่รวมอยู่ในเล่มนี้จะสอดคล้องกับการบรรยายรับเชิญที่นำเสนอในที่ประชุม
ส่วนมากหลักฐานในการป้องกันโรคด้วยโพลีฟีนได้มาจากการทดลองในหลอดทดลองหรือสัตว์ซึ่งจะดำเนินการมักจะมีปริมาณมากขึ้นกว่าที่มนุษย์จะสัมผัสผ่านอาหาร
หนึ่งจุดประสงค์ของการประชุมและของปริมาณการนี​​้คือการทบทวนบางหลักฐานสำหรับผลกระทบต่อสุขภาพของโพลีฟีนในมนุษย์จากการทดลองทางคลินิกและการศึกษาทางระบาดวิทยา
โพลีฟีนอย่างชัดเจนปรับปรุงสถานะของความเครียดที่แตกต่างกันออกซิเดชั่ biomarkers ( 6 ) ความไม่แน่นอนยังคงมีอยู่มาก แต่ทั้งสองเกี่ยวกับความเกี่ยวข้องของ biomarkers
เหล่านี้เป็นตัวพยากรณ์ความเสี่ยงโรคและความเหมาะสมของวิธีการต่างๆที่ใช้ ( 7 ) ความคืบหน้าได้รับการทำที่สำคัญในโรคหัวใจและหลอดเลือดของเขตข้อมูลและวันนี้มันจะจัดตั้งขึ้นเป็นอย่างดีว่า
โพลีฟีนบางผู้เป็นอาหารเสริมหรืออาหารจะปรับปรุงภาวะสุขภาพตามที่ระบุโดย biomarkers หลายที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
( 8 -- 10 ) การศึกษาระบาดวิทยามีแนวโน้มที่จะยืนยันผลการป้องกันการบริโภคโพลีฟีนกับโรคหลอดเลือดหัวใจ ( 11 ) ในทางตรงกันข้ามหลักฐานเพื่อป้องกันผลกระทบของโพลีฟีนกับมะเร็ง,
โรค neurodegenerative และการเสื่อมสภาพการทำงานของสมองส่วนใหญ่ยังคงมาจากการทดลองในสัตว์และในการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ( 12 , 13 );
เรารอคอยการค้นพบของ biomarkers การทำนายโรคดังกล่าวหรือการแทรกแซงการศึกษาขนาดใหญ่ , คล้ายกับที่ทำกับสารต้านอนุมูลอิสระ nonphenolic ( 14 )

หนึ่งในปัญหาสำคัญของ elucidating ผลกระทบต่อสุขภาพของโพลีฟีนเป็นจำนวนมากของสารฟีนอลที่พบในอาหาร ( 15 ),
ลผลิตฤทธิ์ทางชีวภาพที่แตกต่างกันดังแสดงในหลายในการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ( 16 , 17 ) ความแตกต่างที่สำคัญในขณะนี้ดูดซึมได้ดีขึ้นและปัจจัยมีผลต่อโครงสร้างของเป็นที่เข้าใจดีกว่า ( 18 )
ปัญหานี้ถูกนำมาสนทนาที่มีความยาวในระหว่างการประชุม สารที่ใช้งานอยู่อาจจะไม่โพลีฟีนพื้นเมืองที่พบในอาหารซึ่งมักจะผ่านการทดสอบมากที่สุดในการศึกษาในหลอดทดลองพวกเขามีแนวโน้มที่จะเป็นสาร
( 19 ) สารสำคัญของจุลินทรีย์ได้รับการเน้นย้ำในการศึกษาล่าสุดบาง exemplified โดย equol, สารสำคัญของ daidzein ( 20 ) โพลีฟีนเป็น conjugated อย่างกว้างขวางในร่างกายและสาร
nonconjugated ส่วนใหญ่มักจะคิดเป็นสัดส่วนรายย่อยของสารที่หมุนเวียน เป็นที่รู้จักกันน้อยมากในขณะนี้เกี่ยวกับฤทธิ์ทางชีวภาพของสารคอนจูเกตเหล่านี้ ( 1 ) Glucuronides
ของคุณสมบัติคล้ายและ epicatechin มีการแสดงที่มี estrogenic กิจกรรมปรับตัวลดลงมากและไม่มีการป้องกันให้กับความเครียดออกซิเดในเซลล์ที่ปลูกในหลอดทดลอง ( 21 , 22 )
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าส่วนมากของการศึกษาในหลอดทดลองเผยแพร่ในวันที่จะต้องได้รับการ reevaluated, ในแง่ของข้อมูลใหม่ที่ดูดซึมโพลี

ร่างกายมากสนับสนุนบทบาทของวรรณกรรมสำหรับความเครียดออกซิเดชั่พยาธิกำเนิดของโรคในคนที่เกี่ยวข้องกับอายุและการมีส่วนของโพลีฟีนอาหารเพื่อการป้องกันของพวกเขา
ความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่างสถานะสารต้านอนุมูลอิสระและโรคยังคงเข้าใจได้ไม่ดีและได้รับการศึกษาอย่างละเอียด เป็นเวลาหลายปีและสารต้านอนุมูลอิสระโพลีฟีนอื่น ๆ
มีความคิดในการป้องกันองค์ประกอบความเสียหายต่อเซลล์ที่ผ่านการถ่ายของเสียออกซิเดของอนุมูลอิสระ อย่างไรก็ตามแนวความคิดนี้ในขณะนี้ดูเหมือนจะเป็นมุมมองของการกระทำของพวกเขา
oversimplified โหมดของ ( 23 ) มีแนวโน้มที่เซลล์ตอบสนองต่อการโพลีฟีนส่วนใหญ่ผ่านการติดต่อโดยตรงกับตัวรับหรือเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดสัญญาณซึ่งอาจส่งผลใน
การปรับเปลี่ยนของสถานะปฏิกิริยาของเซลล์และอาจเรียกชุดของปฏิกิริยาขึ้นกับดอกซ์ ( 24 -- 26 ) ทั้งสารต้านอนุมูลอิสระและผลของโพลีฟีน prooxidant ได้รับการอธิบายด้วยลักษณะ
พิเศษซึ่งแตกต่างกันในทางสรีรวิทยาของเซลล์กระบวนการ เป็นสารต้านอนุมูลอิสระโพลีฟีนอาจช่วยปรับปรุงความอยู่รอดของเซลล์เป็น prooxidants
ก็อาจทำให้เกิดการตายและป้องกันการเจริญเติบโตของเนื้องอก ( 12 ) อย่างไรก็ตามผลกระทบทางชีวภาพของโพลีฟีนอาจขยายดีเกินการปรับความเครียดออกซิเด
หนึ่งในตัวอย่างที่ดีที่สุดที่รู้จักกันเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ของถั่วเหลืองที่มีคุณสมบัติคล้ายฮอร์โมนหญิงและตัวรับผลกระทบของสารเหล่านี้ต่อการทำงานของต่อมไร้ท่อ
ผลเหล่านี้สามารถอธิบาย (การป้องกันโดยคุณสมบัติคล้ายกระดูกในสตรีวัยหมดประจำเดือน resorption 27 ) ความเข้าใจรายละเอียดของกิจกรรมในระดับโมเลกุลที่อยู่ภาย
ใต้ผลกระทบทางชีวภาพต่างๆเหล่านี้เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการประเมินผลกระทบโดยรวมต่อความเสี่ยงโรคและความก้าวหน้า

หลักฐานปัจจุบันผลของโพลีฟีนกับการป้องกันโรคได้สร้างความคาดหวังใหม่สำหรับการปรับปรุงในด้านสุขภาพด้วยความสนใจจากอุตสาหกรรมอาหารและ
โภชนาการเสริมเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์โพลีฟีนที่อุดมด้วย แต่ก็ยังไม่สามารถที่จะประเมินผลประโยชน์ส่วนบุคคลและสังคมที่เพิ่มขึ้นของปริมาณ
โพลีฟีนอาจมีสำหรับประชาชนทั่วไปหรือสำหรับกลุ่มที่มีความเสี่ยงโดยเฉพาะโรคที่เฉพาะเจาะจง นอกจากนี้ยังเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในการบริโภคของโพลีฟีนเป็นสำหรับ
phytomicronutrients อื่น ๆ อีกมากมายไม่อาจจะไม่มีความเสี่ยง ( 28 ) อันตรายบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคของโพลีฟีนมีเอกสาร แต่การประเมินผลในหมู่มนุษย์ก็ยัง
จำกัด มาก สุดท้ายเราไม่ควรลืมว่าโพลีฟีนจำนวนมากมีรสชาติและ / หรือ (สี 29 ) อาหารต้องไม่ดีต่อสุขภาพเท่านั้น แต่ยังยอมรับของผู้บริโภค

บูรณาการผลการทดสอบที่ผ่านมาและในอนาคตในสาขาวิชาต่างๆรวมถึงชีวเคมี, ชีววิทยาของเซลล์สรีรวิทยาพยาธิสรีรวิทยา,
ระบาดวิทยาและเคมีอาหารจะเป็นที่ต้องการเพื่อระบุโพลีฟีนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและเพื่อกำหนดระดับที่เหมาะสมของการบริโภคเพื่อสุขภาพที่ดีกว่า
ความพยายามในงานวิจัยนี้จะได้ประสานงานกับความพยายามในปัจจุบันเพื่อระบุ biomarkers ถูกต้องมากขึ้นของความเสี่ยงสำหรับโรคที่เกี่ยวกับโภชนาการและควรนำ
ไปสู่​​ข้อเสนอแนะอาหารและสูตรของผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี

ข้อมูลอ้างอิง

โรคหัวใจขาดเลือด

โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจขาดเลือดเป็นสาเหตุที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตมากเป็นอันดับสองรองจากอุบัติเหตุ ผู้ป่วยที่เป็นโรค นี้จะมีผนังหลอดเลือดหัวใจตีบตันเนื่องจากการเกาะตัวของเกล็ดเลือด
(platelet aggregation) ในรายที่มีอาการรุนแรง
จะเสียชีวิตเฉียบพลันหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ปัจจุบันแพทย์นิยมให้ยาละลายเกล็ดเลือด เช่น aspirin, ibuprofen และ heparin เพื่อลดการอุดตันในหลอดเลือด

เมื่อเกิดบาดแผลฉีกขาดมีเลือดออก สักครู่เลือดจะแข็งตัวและหยุดไหลได้เองซึ่งเป็นการรักษาตัวเองตามธรรมชาติ ผู้ที่สูญเสียกลไกนี้ไปจะมีอาการเลือดออกผิดปกติหรือเลือดแข็งตัวช้านั่นเอง
ทางตรงกันข้ามผู้ป่วยบางคนกลับมีเลือดแข็งตัวผิดปกติจนเป็นลิ่มเลือดไปอุดตันหลอดเลือดสำคัญๆ ของร่างกาย การห้ามเลือดเป็นขบวนการทางชีวเคมีที่สำคัญของร่างกายเพื่อควบคุมให้เลือดคง
สภาพเป็นของเหลวไหลเวียนเป็นปกติอยู่ภายในหลอดเลือด และเปลี่ยนสภาพเป็นลิ่มเลือด เพื่อให้เลือดหยุดเมื่อมีการทำลายของหลอดเลือด ทั้งนี้จะต้องอาศัยความสมดุลระหว่าง 2 ขบวนการสำคัญ ได้แก่
ขบวนการแข็งเป็นลิ่มของเลือด และขบวนการสลายลิ่มเลือด การควบคุมการไหลเวียนเลือดให้เป็นปกตินั้น ประกอบด้วยระบบการทำงานที่สำคัญดังต่อไปนี้ คือ ระบบหลอดเลือดและการซ่อมแซมในตำแหน่งที่
ได้รับอันตราย ระบบเกล็ดเลือด การสร้างลิ่มเลือดและระบบควบคุม การสลายลิ่มเลือดและระบบควบคุม ขบวนการเหล่านี้ต้องทำงานร่วมกันเป็นระบบจึงจะมีประสิทธิภาพ และต้องอยู่ในภาวะสมดุล
ถ้าเกิดการเสียสมดุลจะทำให้เกิดความผิดปกติ เช่น ถ้าเกิดการเสียสมดุลของการทำงานของระบบห้ามเลือด ก็จะทำให้มีภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติ หรือ มีภาวะการแข็งตัวของเลือดในหลอดเลือดได้

โครงสร้างของหลอดเลือดแบ่งเป็น 3 ชั้น ได้แก่ ชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก ชั้นในประกอบไปด้วยเซลล์เยื่อบุผนังหลอดเลือดที่เรียงตัวเป็นชั้นเดียวยึดติดกัน ทำหน้าที่สร้างและปล่อยสารต่างๆ
เข้าสู่กระแสเลือด และกั้นไม่ให้เลือดและส่วนประกอบของเลือดออกไปนอกหลอดเลือด ชั้นกลางประกอบไปด้วยเซลล์กล้ามเนื้อเรียบเป็นส่วนใหญ่ และความหนาของชั้นนี้จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของหลอดเลือด ชั้นนอกประกอบไปด้วยเยื่ออีลาสติกและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ที่สำคัญคือคอลลาเจน อีลาสติน และไมโครไฟบริล ในภาวะปกติ หลอดเลือดจะมีส่วนสำคัญในการควบคุมเลือดให้ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลือดได้อย่างปกติ โดยจะมีหน้าที่ควบคุมการหดตัวของหลอดเลือด ทำให้เลือดสามารถไหลเวียนภายในระบบไหลเวียนเลือดได้อย่างปกติ ทำหน้าที่กั้นไม่ให้เลือดผ่านออกไปนอกหลอดเลือด จากการที่ผนังของหลอดเลือดมีความแข็งแรง ทำให้เลือดไม่สามารถซึมออกนอกหลอดเลือดได้ ชั้นที่ทำให้หลอดเลือดแข็งแรง ไม่เปราะแตกง่าย คือ ชั้นนอก หลอดเลือดกั้นไม่ให้โปรตีนที่ใช้ในขบวนการแข็งตัวของเลือดที่ไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดถูกกระตุ้น และสร้างสารที่เกี่ยวข้องกับการเกาะกันของเกล็ดเลือดและการแข็งเป็นลิ่มของเลือด เมื่อหลอดเลือดได้รับอันตราย เกิดการฉีกขาดและเกิดรอยรั่ว หลอดเลือดจะหดตัว เป็นการจำกัดจำนวนเลือดไม่ให้สูญเสียออกไป ขบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและทันทีที่หลอดเลือดได้รับอันตราย และถูกควบคุมโดยระบบประสาทและฮอร์โมน

ระบบเกล็ดเลือด (Platelet)
เกล็ดเลือดที่อยู่ในระบบไหลเวียนเลือดของร่างกาย มีรูปร่างกลม ขนาด 1.5-3 นาโนเมตร เป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส สร้างมาจากซัยโตพลาสซึมของเซลล์เมกะคาริโอซัยท์ มีอายุประมาณ 9-10 วัน ในระบบไหลเวียนเลือด ในคนปกติจะมีประมาณ 150-400 พันล้านตัวต่อเลือด 1 ลิตร ประมาณหนึ่งในสามของเกล็ดเลือดจะอยู่ในม้าม ในภาวะปกติเกล็ดเลือดจะลอยอยู่ในกระแสเลือด ไม่เกาะกันเอง หรือกับเซลล์เม็ดเลือดอื่นๆ และไม่เกาะติดกับผนังของหลอดเลือด โครงสร้างของเกล็ดเลือดจะแบ่งออกเป็นสามส่วน ได้แก่ ส่วนนอก ส่วนสารเจล และส่วนอวัยวะชิ้นย่อย

ส่วนนอกประกอบด้วยเยื่อหุ้มเกล็ดเลือด ประกอบด้วยเยื่อบุชั้นนอกที่มีกลัยโคโปรตีนเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ และประกอบเป็นโปรตีนตัวรับเกล็ดเลือดชนิดต่างๆ โปรตีนเหล่านี้ทำให้เกล็ดเลือดมีประจุลบ ซึ่งเป็นแรงผลัก ทำให้เกล็ดเลือดไม่เกาะกันเอง และไม่เกาะกับเยื่อบุหลอดเลือดที่ไม่ฉีกขาด ส่วนเยื่อบุที่อยู่ใต้ชั้นนอกประกอบไปด้วยสารไขมันฟอสโฟไลปิด มีความสำคัญโดยเป็นพื้นผิวสำหรับปฏิกิริยาของขบวนการแข็งเป็นลิ่มของเลือด สำหรับส่วนสารเจลเป็นส่วนของซัยโตพลาสซึมของเกล็ดเลือด ประกอบไปด้วยเส้นใยต่างๆ และทำให้เกล็ดเลือดคงรูปร่างอยู่ได้ ที่สำคัญได้แก่ ไมโครทูบุลและไมโครฟิลาเมนท์ รวมทั้งระบบท่อเล็กที่มีสาร ADP และแคลเซียมประกอบอยู่ โปรตีนที่ทำหน้าที่ในการยืดหดตัวคือ thrombosthenin มีลักษณะคล้ายกับโปรตีน actomyosin ส่วนสารเจลประกอบด้วยโปรตีนร้อยละ 30-50 ของโปรตีนในเกล็ดเลือดทั้งหมด ทำหน้าที่สำคัญในการเกิดรูปร่างเฉพาะ ส่วนขาเทียม และกระบวนการหลั่งสารของเกล็ดเลือด

ส่วนอวัยวะชิ้นย่อยประกอบไปด้วยแกรนูลชนิด dense granules ไมโตคอนเดรีย ลัยโซโซม เพอรอกซิโซม และออร์แกนเนลอื่นๆ ทั้งยังเป็นแหล่งเก็บสารและเอนไซม์ต่างๆ รวมทั้งเป็นแหล่งที่มีเมตะบอลิสมของสารต่างๆ แกรนูลมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 300-500 นาโนเมตร ประกอบไปด้วยโปรตีนและกลัยโคโปรตีนหลายชนิด เกล็ดเลือดมีหน้าที่ช่วยในการห้ามเลือด โดยเสริมความแข็งแรงของหลอดเลือด ทำให้เม็ดเลือดไม่สามารถลอดแทรกผนังหลอดเลือดออกมาภายนอกหลอดเลือดได้ และเมื่อหลอดเลือดได้รับอันตราย เกล็ดเลือดจะรวมตัวกันสร้างชิ้นส่วนมาอุดตรงบริเวณหลอดเลือดที่มีการฉีกขาด ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งในสองอันแรกของร่างกายที่จะทำให้เลือดหยุดไหล
ที่มา : นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ

โรคหลอดเลือดหัวใจ

โรคหลอดเลือดหัวใจ
ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้อุปนิสัยการบริโภคและการปฏิบัติตนของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ พบว่าอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้เพิ่มมากขึ้น และเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของเมืองไทย
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด
สูบบุหรี่
เครียด
มีความดันโลหิตสูง
ไม่ออกกำลังกาย
มีไขมันในเลือดสูง
สตรีหลังหมดประจำเดือน
เป็นโรคเบาหวาน
สตรีที่กินยาคุมกำเนิด
มีน้ำหนักตัวเกินปกติ อ้วน
กินอาหารเค็ม
ผู้ป่วยโรคหัวใจ และหลอดเลือดตีบ อาจมีอาการแสดงได้หลายแบบ ได้แก่
1. เจ็บแน่นหน้าอก เป็นๆ หายๆ คล้ายช้างเหยียบ
2. เหนื่อยง่าย
3.ไม่มีอาการใดๆ แต่ทราบจากผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ
4. จุก แน่นท้อง คล้ายโรคกระเพาะ
อาการเจ็บแน่นหน้าอก จากหัวใจ เจ็บแน่นหน้าอกมีลักษณะจำเพาะ เจ็บตื้อๆ แน่นๆ หรือ หนักๆ ตำแหน่งที่เจ็บเป็นที่กลางอกใต้กระดูกหรือเยื้องมาทางซ้าย อาจร้าวไปที่ข้อศอก หรือแขน คอ กราม
ระยะเวลาที่เจ็บนานประมาณ 3-5 นาที ถ้าหากเจ็บนานเกิน 30 นาที อาจเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้ ซึ่งจะมีอาการ
1. เหงื่อออก ใจสั่น หน้ามือคล้ายจะเป็นลม
2. เหนื่อย หายใจลำบาก
3. หัวใจวาย หมดสติถึงแก่ชีวิต
การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
ใช้ยา เช่น ยาลดการบีบตัวของหัวใจ ยาขยายหลอดเลือด ยาควบคุมความดันโลหิตสูง ยายับยั้งการเกาะตัวของเกร็ดเลือด ยาลดไขมันในเลือด
การเพิ่มเลือดไปเลี้ยงหัวใจโดยตรง ปัจจุบันมี 2 วิธี
1.การใช้บอลลูนขยายหลอดเลือด
2.การผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ/การผ่าตัด Bypass หลอดเลือดหัวใจ
การปฏิบัิติตัวเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ
1. รับประทานอาหารให้พอดีกับความต้องการของร่างกายให้ครบ 5 หมู่ อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ อาหารไขมันสูง อาหารที่เค็มจัด หวานจัด ควรรับประทานอาหารประเภทผัก และผลไม้ให้มากๆ
2.ออกกำลังกายสม่ำเสมอ จะช่วยให้หัวใจและหลอดเลือดทำงานได้ดี การออกกำลังกายที่เหมาะสมควรทำวันละ 20-30 นาที และ 3 ครั้ง ต่อสัปดาห์
3. ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
4. ทำจิตใจให้ร่าเริง แจ่มใสอยู่เสมอ อย่าเครียดนานๆ
5. ควรตรวจสุขภาพร่างกายประจำปี จะช่วยค้นหาปัจจัยเสี่ยง และสามารถบอกแนวโน้มการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้
6. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
7. งดบุหรี่ เหล้า และสารเสพติดทุกชนิด
8. อย่าให้อ้วโดยเฉพาะอ้วนลงพุง
หัวใจ เป็นอวัยวะที่สำคัญของทุกชีวิต คุณจะไม่เสียเวลาและจะไม่เสียใจเลย ถ้าใส่ใจกับการดูแลสุขภาพของหัวใจเสียบ้าง อย่าปล่อยให้ตัวเองเป็น โรคหลอดเลือดหัวใจ
แหล่งข้อมูล : มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย
ข้อมูลสุขภาพที่เกี่ยวข้อง
ขจัดสี่วายร้ายให้ไกลตัว
อาการผิดปกติที่อาจบ่งชี้ว่าเป็นโรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ไขมันปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ/หัวใจกับไขมันในกระแสเลือด
คอเลสเตอรอลกับโรคหัวใจ

ซีรัม

ซีรัม พลาสมา เหมือนกันตรงที่ไม่มีส่วนประกอบของเม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
แต่แตกต่างกันที่พลาสมาปกติจะอยู่ในรูปของแข็งเพราะ มี องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือดอยู่
ส่วนซีรัมนั้นปกติจะอยู่ในรูปของเหลวเพราะ ไม่มีี องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือดอยู่
เลือดหมูที่เรารับประทานนั้นคือส่วนที่เป็นซีรัมของหมู เพราะได้จากพลาสมาที่แข็งตัวจากกลไกการแข็งตัวของเลือด จากนั้นมันจะมีแรงดันที่ทำให้มันค่อยๆปริออก และมีน้ำใสๆซึมออกมา่
น้ำใสๆส่วนนั้นแหละ คือ ซีรัม แล้วพวกเราก็เอามาต้ม โปรตีนในซีรัมก็เกิดแปลงสภาพจากความร้อนกลายเป็นเลือดหมูหยุ่นๆที่เรากินกัน
กล่าวได้ว่าซีรัมเกิดจากพลาสมาได้เหมือนกัน ซึ่งโดยปกติเราจะไม่พบพลาสมาในรูปของเหลว แต่เราสามารถรักษาสภาพมันให้เหลวได้โดยไม่ให้มันแข็งตัว ด้วยการเติมสารป้องกันการแข็งตัวของเลือดลงไปนั่น คือ เฮพาริน

--------------------------------------------------
ความหมายของPlasma ในทางโลหิตวิทยา หมายถึงส่วนของเลือดที่เป็นของเหลวทั้งหมด โดยแยกส่วนที่เป็นcells ทั้งหมดออก ซึ่งได้แก่ red blood cell, white blood cell ,
และ platelet ดังนั้นเลือดในร่างกายของเราที่กำลังไหลเวียนอยู่ก็ย่อมมีส่วนที่เป็นplasmaอยู่ด้วยและเราสามารถแยกplasmaออกจากส่วนเม็ดเลือดได้ โดยที่ยังเป็นของเหลวอยู่
เช่นเลือดที่มีผู้บริจาค คลังเลือดจะเอาไปcentrifugeแยกเอาส่วนเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและplateletออก เหลือส่วนที่เป็นplasma เอาไว้ให้ผู้ป่วยที่ต้องการได้
จะเห็นว่าในplasmaยังมีสารที่สามารถทำให้เลือดแข็งตัวได้อยู่ครบ จึงให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาเลือดออกจากการขาดproteinที่ทำให้เลือดแข็งตัวได้(โรคhemophilia)
ในการเก็บรักษาplasmaต้องแช่แข็งที่อุณหภูมิต่ำมาก น้ำในplasmaจึงแข็งตัวจากความเย็นจัด ไม่ใช่จากปฏิกิริยาการแข็งตัวของเลือด (coagulation) เราเรียกว่า Fresh Frozen Plasma(FFP)
ส่วนserum หมายถึงส่วนของเหลวของเลือดที่ได้จากการทิ้งให้เลือดเกิดการแข็งตัวแล้วเกิดการแยกตัวของส่วนที่เป็นcellsและproteinการแข็งตัว(coagulation factors)
ดังนั้นของเหลวนี้จึงไม่มีทั้งส่วนที่เป็นcellเม็ดเลือดทั้งหมาย รวมทั้งสารproteinที่ใช้ในการทำให้เลือดแข็งตัวด้วย(เพราะถูกใช้ไปหมดแล้วในกระบวนการแข็งตัวของเลือด)
ในserumจะยังคงมีพวกสารภุมิต้านทาน(antibodies)ต่างๆอยู่ ดังนั้นถ้าเราเอาserumของคนที่มีระดับantibodyสูงๆต่อสารพิษหรือเชื้อโรคบางชนิด
ก็สามารถให้กับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องใช้ได้เหมือนกัน(แต่ต้องทำการตรวจความเข้ากันได้เหมือนกับการให้เลือด เพราะในserumยังมีสารanti-A,anti-Bอยู่) การแยกserum
ทำได้ง่ายๆเพียงแต่เจาะเลือดออกมา ใส่ขวดแก้วหรือหลอดแก้วสะอาดทิ้งไว้ไม่ช้าเลือดจะแข็งตัวเหมือนกับวุ้นที่แข็งตัว ตั้งทิ้งไว้ต่อไป(ถ้าอุณหภูมิห้องไม่เย็นเกินไป)
เลือดที่แข็งตัวจะหดตัวเป็นก้อนถ้าการหดตัวปกติจะเป็นก้อนทรงกระเปาะ แยกออกจากส่วนที่เป็นของเหลวสีเหลือง เราเรียกของเหลวที่ได้นี้ว่า serum

สรุปว่าplasma และserum ต่างก็เป็นของเหลว แต่ว่าplasmaยังมีพวก coagulation factors ทั้งหลายอยู่ครบ ส่วนserum
เป็นของเหลวของเลือดที่ไม่มีพวกcoagulation factorsเพราะถูกใช้ไปในกระบวนการแข็งตัวของเลือดหมดแล้ว
เลือดหมูที่เรานำมาปรุงอาหาร เป็นเลือดหมูทั้งหมดคือส่วนที่เป็นเม็ดเลือดและส่วนที่เป็นplasmaที่เกิดปฏิกิริยาการแข็งตัวของเลือดขึ้น
แต่ยังไม่เกิดภาวะclot retraction เรานำมาต้มเพื่อหยุดปฏิกิริยาclot retraction จึงได้เลือดหมูนิ่มๆมารับประทานกันเป็นที่น่าอร่อย
ถ้าทิ้งไว้จนเกิดภาวะclot retractionแล้วมันคงจะแข็งไม่น่ากินแน่
http://www.vcharkarn.com/vcafe/60736

เจียวกู้หลาน ช่วย Mononuclear cells

เจียวกู้หลาน , เจียวกู่หลาน, เจียวกูหลาน, เจียวกูหลัน, เจียวกู้หลัน คนไทยเรียก ปัญจขันธ์ หรือ เบญจขันธ์ เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ทั่วๆ ไปในทวีป เอเซีย เป็นพืชล้มลุก คนไทยเข้าใจว่าเจียวกู้หลานเป็นสมุนไพรที่นำเข้ามาจากประเทศจีน แต่จริง ๆ แล้ว เจียวกู้หลานก็มีในประเทศไทย มีมานานแล้ว แต่ในประเทศไทย ไม่มีการจดบันทึกประวัติ คนไทยเรามีหลักฐานปรากฎว่าเริ่มมีการจดบันทึกกันเป็นหลักฐานก็สมัยสุโขทัย เพราะตามประวัติศาสตร์ไทยเริ่มมีการนำอักษรที่พระร่วง หรือ พ่อขุนรามคำแหงมาใช้กัน แต่ในประเทศจีนมีการจดบันทึกกันมาอย่างยาวนาน กล่าวคือ เจียวกู้หลาน , เจียวกู่หลาน, เจียวกูหลาน, เจียวกูหลัน, เจียวกู้หลัน คนไทยเรียก ปัญจขันธ์ หรือ เบญจขันธ์
ว่าเป็นโสมใต้ เป็นอมตะสมุนไพรที่ฮ่องเต้ จีนใช้บำรุงร่างกายเป็นต้น
เจียวกู้หลาน , เจียวกู่หลาน, เจียวกูหลาน, เจียวกูหลัน, เจียวกู้หลัน คนไทยเรียก ปัญจขันธ์ หรือ เบญจขันธ์ ในที่นี้ขอเรียกว่า " เจียวกู้หลาน"


เจียวกู้หลาน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gynostemma pentaphyllum Makino.
ชื่อวงศ์ : Cucurbitaceae
ชื่อภาษาอังกฤษ : Miracle grass (หญ้ามหัศจรรย์),
Southern ginseng (โสมภาคใต้), 5-Leaf ginseng (โสมห้าใบ)
ชื่อจีน : เจียวกู่หลาน เซียนเฉ่า (สมุนไพรอมตะ)
ชื่อญี่ปุ่น : อะมาซาซูรู (ชาหวานจากเถา)
ลักษณะของเจียวกู้หลาน
พืชเป็นพืชล้มลุกชนิดเถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกออกจากข้อเป็นประเภทแตงน้ำเต้า มีใบ 3-5 ใบ ด้านบน และด้านล่างใบมีขนอ่อนสีขาวปกคลุม เป็นพืชขึ้นตามธรรมชาติ ส่วนที่นำมาใช้คือส่วนเหนือดินของพืชที่มีอายุ 4-5 เดือน ขึ้นไป
การศึกษาวิจัยปัญจขันธ์ : เจียวกู้หลานมี 2 ชนิด
1.ชนิดที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ให้เภสัชสารมากกว่าเจียวกู้หลานปลูก
2.เจียวกู้หลานปลูก นำพันธุ์ มาปลูกตามที่ต่าง ๆ
การศึกษาด้านเพาะปลูก
กระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยสถาบันวิจัยสมุนไพร ได้ร่วมมือกับ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ จังหวัดเชียงใหม่ ส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชสมุนไพรในพื้นที่ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปใช้ในงานวิจัยของสถาบัน โดยเบื้องต้นได้คัดเลือก เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ ซึ่งเป็นสมุนไพรที่ทางสถาบันกำลังดำเนินการอยู่ และส่งเสริมให้เกษตรกรในท้องถิ่นปลูกเพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น และการศึกษาวิจัยร่วมกันถึงวิธีการปลูก การเก็บเกี่ยว และการขยายพันธุ์ จากการดำเนินการที่ผ่านมาพบว่าผลการผลิต เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์จากพื้นที่ดังกล่าวมีปริมาณสารสำคัญสูงตามเกณฑ ์มาตรฐาน และไม่มีสารปนเปื้อนซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพได้เป็นอย่างดี
การศึกษาวิจัย เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ : การศึกษาด้านเภสัชวิทยา
ผลจากการศึกษาวิจัยในห้องปฏิบัติการพบว่าปัญจขันธ์มีสารที่มีฤทธิ์ในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยให้นอนหลับ รักษาแผล ในกระเพาะอาหารลดระดับไขมันในเลือด เสริมระบบภูมิคุ้มกัน ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งบางชนิด ยับยั้งการเกาะตัวกันของเกร็ดเลือด ต้านอักเสบ และลดระดับน้ำตาลในเลือด เป็นต้น และนอกจากนี้การศึกษาพิษเรื้อรังในสัตว์ทดลองพบว่ามีความปลอดภัย
การศึกษาวิจัย เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ : องค์ประกอบทางเคมี
ข้อมูลการวิจัยของวิจัยชาวจีนและ ญี่ปุ่นพบว่า เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์มีสารสำคัญอยู่หลายชนิดที่พบมา เรียกกันทั่วไปว่า Gypenosides เป็นสารจำพวก Saponin ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยกว่า 80 ชนิด และ เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ยังประกอบด้วยสารสำคัญคือ Gypenosides เป็นสารประเภทไตรเทอร์ปีนซาโปนิน (Triterpene Saponins) ซึ่งมีสูตรโครงสร้าง คล้ายคลึงกับ
Ginsenosides ที่พบในโสม (Panax ginseng) นอกจากนี้ซาโปนิน ที่พบใน เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์มีจำนวน 82 ชนิด แต่ซาโปนินที่พบในโสมมีเพียง 28 ชนิด ในจำนวนนี้มี 4 ชนิดที่เหมือนกัน ได้แก่ Gypenosides Rb1 (Gypenoside III หรือ Gynosaponin C), Ginsenosides Rb3 (Gypenoside IV), Ginsenoside Rd (Gypenoside VIII), และ Ginsenoside F3, (Gypenoside XII) นอกจากนี้ยังมี Gypenosides อีก 11 ชนิด ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับ Ginsenosides การใช้ประโยชน์ส่วนนี้จะแตกต่างกันบ้าง กล่าวคือ โสมเป็นสมุนไพรร้อน แต่ เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ เป็นสมุนไพรเย็น

การศึกษาวิจัย เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ : องค์ประกอบทางเคมีในห้องทดลอง
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ดำเนินการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเจียวกู่หลานต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบอาศัยเซลล์ของหนูถีบจักรที่ถูกกดภูมิคุ้มกันโดยการ ฉายรังสีแถบแกมมาขนาด 4 Gy ก่อนให้สารสกัดขนาด 32 มก./กก./วัน และขนาด 160 มก./กก./วัน เป็นเวลา 10 วัน พบว่าการแบ่งตัวของ
ลิมโฟซัยท์เมื่อถูกกระตุ้นด้วย PHA, LPS และ ConA กลับสู่สภาวะปกติในวันที่ 15 ของการศึกษา เมื่อทดสอบโดยใช้ mononuclear cells จากกระแสเลือดของคนปกติ พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานช่วยเพิ่มการ แบ่งตัวของ ลิมโฟซัยท์ อย่างมีนัยสำคัญที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 1 ng/ml ถึง 100 g/ml รวมทั้งแสดงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์เอชไอวีโปรทีเอสในหลอดทดลองได้ผลดี
เมื่อทดสอบความเป็นพิษทั้งพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของสารสกัดเจียวกู่หลานในหนูขาว พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานมีความปลอดภัยสูงแม้ว่าจะให้สารสกัดในขนาดสูงถึง 750 มก./กก./วัน
จากการศึกษาความปลอดภัยของสารสกัดเจียวกู่หลานในอาสาสมัครจำนวน 30 ราย โดยกำหนดเกณฑ์คัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ และเกณฑ์การเลิกการเข้าร่วมการศึกษาอย่างชัดเจน
มีการสัมภาษณ์ ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการทุก 2 สัปดาห์เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา ทางชีวเคมีของซีรัม และต่อระบบภูมิคุ้มกัน โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ 3 เดือน
โดยคัดเลือกอาสาสมัครตามเกณฑ์ที่กำหนด แบ่งอาสาสมัครเป็น 2 ชุดๆละ 15 คน ให้อาสาสมัครชุดที่ 1 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล)
หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน และอาสาสมัครชุดที่ 2 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) หลังอาหาร วันละ 2 ครั้ง
เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน เพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการเสริมภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อให้อาสาสมัครรับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1-2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) วันละ 2 ครั้ง ติดต่อกันนาน 2 เดือน มีความปลอดภัย และไม่พบอาการผิดปกติใดๆ ดังนั้นจึงสมควรศึกษาประสิทธิผลทางคลินิกเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อไป
การใช้ประโยชน์
สรรพคุณ ทั้งต้นตั้งแต่ยอดถึงรากมีส่วนประกอบสำคัญเท่ากับโสมถึง 6 ชนิดรวมกัน ช่วยเสริมสร้างพลัง ช่วยรักษาโรคเฉียบพลันและร้ายแรงของคนวัยกลางคนจนถึงวัยชรา เช่น โรคเส้นเลือดใหญ่อุดตัน ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่ำ เบาหวาน หอบหืด และโรคมะเร็ง นอกจากนั้นยังช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายให้เข้มแข็ง มีพลัง ทำให้ร่างกายมีความต้านทานโรค ระบาดได้ และรู้สึกกระชุ่มกระชวย "ฟื้นความหนุ่มสาว" กลับคืนมาอย่างน่าอัศจรรย์ยิ่ง ซึ่งผลการศึกษาวิจัยช่วยให้นอนหลับดี ต้านอนุมูลอิสระ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ลดระดับไขมันในเลือด เสริมระบบภูมิคุ้มกันยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็ง ยับยั้งการเกาะตัวของเกล็ดเลือด เสริมส่งกระบวนการเมตตาบอริซึ่ม ลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมาก
ข้อมูลการวิจัยเพิ่มเติม

ในปี 2543 กรมวิชาการเกษตร ร่วมกับ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ทำการวิจัยพบสารต้านอนุมูลอิสระเพิ่มอีก ถึง 3 ชนิด คือ เควอซิติน ( Quercetin ) เคมเฟอรอล ( Kaempferol ) เป็นสารกลุ่ม ฟลาโวนอยส์ ( Flavonoids ) มีคุณสมบัติ: ป้องกันการดูดซึมของน้ำตาลในลำไส้เล็ก ทำให้กระแสเลือดหมุนเวียนดี และหลอดเลือดแข็งแรง ยับยั้งการก่อสารมะเร็งเลือด มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ ลดอาการแพ้ ยืดอายุเม็ดเลือดขาว โพลีฟีนอล (Polyphenols) มีฤทธิ์ป้องกันอนุมูลอิสระ ลดความเครียด เนื่องมากจากความไม่สมดุลของร่างกาย ป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดแข็งตัว ลดความเสี่ยงการเกิดโรคหลอกเลือดหัวใจ มะเร็งลำไส้ และ มะเร็งกระเพาะอาหาร ลดคลอเรสเตอรอล เจียวกู่หลาน ช่วยปรับลดระดับคลอเลสเตอรอลชนิด LDL กรดไขมันที่เสีย ที่ทำให้เกิดการอุดตันที่หลอดเลือดหัวใจ จึงเท่ากับ ลดความเสี่ยงในการเกิดหัวใจวายเฉียบพลัน รักษาสมดุลให้รดไขมัน ชนิด HDL กรดไขมันดี ทำให้เกิดการเผาผลาญไขมันได้ดี และลดกรดไขมันอิสระที่เกิดขึ้นเกิดจากการแปรสภาพของกรดไขมันเสีย อีกทั้งเจี่ยวกู้หลานนั้นยังเป็นสมุนไพรประเภทชงคล้ายชา ( ไม่รวมชา ) แต่จะไม่มีสารคาเฟอีน จึงไม่ทำให้เรานอนไม่หลับ
อ้างอิง จากสาราณุกรม เสรี
*******************************************************************************************************
สมุนไพรใน เจียวกู้หลาน ทำงานและเกี่ยวข้องกับการจัดการ และ ส่งผลไปถึง
Mononuclear cells - ต่อพ่วงโมโนนิวเคลียร์เซลล์ในเลือด
โมโนนิวเคลียสเซลล์เม็ดเลือด (PBMC) เป็นใด เลือด เซลล์ ที่มีนิวเคลียสรอบ [1] . ตัวอย่างเช่น lymphocyte , monocyte หรือ macrophage .
เซลล์เม็ดเลือดเหล่านี้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญใน ระบบภูมิคุ้มกัน เพื่อต่อสู้กับการติดเชื้อและปรับตัวเข้ากับผู้บุกรุก ประชากรประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาว
T (CD4 และ CD8 บวก ~ 75%), เซลล์ B และเซลล์เอ็นเค (~ 25% รวมกัน)
เซลล์เหล่านี้มักจะสกัดจากเลือดรวมใช้ Ficoll , polysaccharide ชอบน้ำที่แยกชั้นของเลือดที่มี monocytes และ lymphocytes ขึ้นรูป เคลือบ Buffy
ภายใต้พลาสม่าชั้น นี้มีเสื้อ Buffy PBMCs นอกจากนี้ PBMC สามารถสกัดได้จากเลือดใช้ lysis hypotonic ที่ชอบมากกว่าจะ lyse เซลล์เม็ดเลือดแดง
วิธีนี้ส่งผลให้ใน Neutrophils และเซลล์อื่น ๆ polymorphonuclear (PMN) ซึ่งมีความสำคัญในการป้องกันการได้รับภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด
PBMCs ใช้กันอย่างแพร่หลายในการวิจัยและทางคลินิกจะใช้ทุกวัน เอชไอวี การวิจัยจะใช้พวกเขาเพราะ PBMCs รวมถึงเซลล์ CD4 + ซึ่งเป็นเซลล์ที่ติดเชื้อเอชไอวี
ดูยัง เซลล์ในเลือด ( เซลล์เม็ดเลือดเป็น เซลล์ ส่วนประกอบของ เลือด ประกอบด้วย เซลล์เม็ดเลือดแดง , เซลล์เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด ซึ่งอยู่ภายในสระว่ายน้ำไหลเวียนของเลือดและไม่
sequestered ภายใน ระบบน้ำเหลือง , ม้าม , ตับ หรือ ไขกระดูก )
เซลล์เม็ดเลือดขาวหรือเม็ดเลือดขาว (WBC 's) เม็ดเลือดขาวสามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มและโมโนนิวเคลียร์เซลล์ granulocytic
เม็ดเลือดขาวมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆกับร่างกายของกลไกการป้องกัน เซลล์ที่ปรากฏในภาพบนเป็นเซลล์โมโนนิวเคลียร์ในกรณีนี้ monocyte
เซลล์ที่ปรากฏในภาพล่างเป็น granulocyte, ในกรณีนี้ neutrophil เซลล์เหล่านี้จะนำเสนอในรายละเอียดอื่น ๆ อีกมากมายในภายหลัง
โมโนนิวเคลียร์เซลล์ : เซลล์เม็ดเลือดขาวและ monocytes
เม็ดเลือดขาวโมโนนิวเคลียร์ประกอบด้วยสองประเภทคือเซลล์ : เซลล์เม็ดเลือดขาวและ monocytes ในทางตรงกันข้ามเพื่อ granulocytes,
เซลล์เหล่านี้มีนิวเคลียสกลมหรือบางคนที่มี indentations เท่า เม็ดจะไม่โดดเด่น
สมุนไพร เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์มีศักยภาพเชิงพาณิชย์และมีประโยชน์ทั้งเป็นผลิตภัณฑ์ยาและผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ เนื่องจากมีประวัติการใช้ เป็นสมุนไพรพื้นบ้านมาเป็นเวลายาวนาน
และมีรายงานการศึกษาทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนทั้งด้านเภสัชศาสตร์ ด้านเคมี และด้านพิษวิทยา จึงได้มีการนำสมุนไพรชนิดนี้มาพัฒนาเป็นสมุนไพร เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ซึ่ง ได้มีการใช้กระบวน การทางวิทยาศาสตร ์ในการควบคุมขบวนการเตรียมวัตถุดิบ การผลิตผลิตภัณฑ์และควบคุมปริมาณสารสำคัญ ซึ่งแสดงถึงการเพิ่มมูลค่าของ วัตถุดิบสมุนไพร เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์เสริมสุขภาพจากสมุนไพร เจียวกู้หลาน หรือ ปัญจขันธ์ที่มีคุณภาพดี ซึ่งเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค สามารถส่งเสริมการส่งออก ลดการนำเข้าผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพจากต่างประเทศได้

เมตาบอลิซึม (METABOLISM)

เมตาบอลิซึม (METABOLISM)
เมตาบอลิซึม คือกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ ซึ่งสามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้ดังนี้
1.กระบวนการสังเคราะห์พลังงานจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไป เช่น สังเคราะห์เอากรดอะมิโนกับกลูโคส จากคาร์โบไฮเดรต ซึ่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์นี้เรียกว่า ปฎิกิริยาอะนาบอลิก โดยมีจะมีการสร้างโมเลกุลใหญ่ๆขึ้นมา เช่น โปรตีนกับไกลโคเจน แล้วนำไปเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อต่างๆ (เก็บสำรองไว้)
2.กระบวนการสลาย คือการสลายโมเลกุลใหญ่ในข้อ 1 ที่เก็บสำรองไว้นั้น ให้ไปเป็นโมเลกุลเล็ก เพื่อนำไปใช้เป็นพลังงานได้ทันที พลังงานที่ว่านี้ก็คือเรี่ยวแรงที่นำไปใช้ในการออกกำลังกาย ยืน เดิน นั่ง ต่างๆนั่นเอง หมายความว่า มีการสำรองไว้ตามข้อ 1 ก่อน จากนั้น เมื่อไรที่ร่างกายต้องการใช้ ก็จะเข้าสู่ข้อ 2. คือสลายของที่ได้จากข้อ 1. เพื่อนำมาเป็น
เมื่อกล่าวถึงเมแทบอลิซึม (metabolism) ทุกคนก็คงจะทราบว่า “เมแทบอลิซึม คือ ปฏิกิริยาเคมีที่เร่งโดยเอนไซม์เพื่อเปลี่ยนพลังงานและสสารที่ร่างกายรับมาจากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการดำรงชีพ” แต่บางคนก็คงจะกำลังสงสัยว่าเมแทบอลิซึมกับไฟฟ้าเคมี (electrochemistry) สัมพันธ์กันอย่างไร

ในความเป็นจริงแล้วปฏิกิริยาเคมีสำคัญๆ ที่เกิดในกระบวนการเมแทบอลิซึมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการให้และการรับอิเล็กตรอน หรือออกซิเดชัน-รีดักชัน (oxidation-reduction reaction) ซึ่งเป็นหลักการที่สำคัญในไฟฟ้าเคมี มาถึงขั้นนี้หลายๆ คนอาจจะพอมองออกแล้วว่า ไฟฟ้าเคมีกับเมแทบอลิซึมสัมพันธ์กันอย่างไร ซึ่งเราจะได้ศึกษาในรายละเอียดกันต่อไป


หลักการของเมแทบอลิซึม คือ การนำเอาสารอาหารและพลังงานแสงมาเปลี่ยนให้เป็นปัจจัยที่สำคัญ ซึ่งมี 3 อย่าง ได้แก่
1. พลังงานชีวเคมี (biochemical energy) สารชีวเคมีที่สำคัญที่สุด ในกระบวนเมแทบอลิซึม ก็คือ adenosine 5'-triphosphate หรือ ATP เมื่อแตกสลายเป็น adenosine 5'diphosphate (ADP) และฟอสเฟต (Pi) แล้วจะให้พลังงานจำนวนมาก ซึ่งพลังงานนี้จะถูกใช้ในการผลักดันให้ปฏิกิริยาที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เอง สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น ปฏิกิริยาการรวมตัวเพื่อสร้างโมเลกุล เป็นต้น
2. อิเล็กตรอน (electrons) สารชีวเคมีที่สามารถรับและถ่ายอิเล็กตรอนได้ในเมแทบอลิซึม คือ
nicotinamide adenine dinucleotide หรือ NAD+ เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NADH) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (NAD+) ได้เหมือนเดิม
nicotinamide adenine dinucleotide phosphate หรือ NADP+ เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NADPH) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (NADP+) ได้เหมือนเดิม
flavin adenine dinucleotide หรือ FAD เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (FADH2) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (FAD) ได้เหมือนเดิม
ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการรับและถ่ายโอนอิเล็กตรอน เราเรียกว่าเป็นปฏิกิริยา oxido – reduction หรือปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่สำคัญในไฟฟ้าเคมี ซึ่งสารนำอิเล็กตรอนเหล่านี้มีประโยชน์ต่อเมแทบอลิซึมมาก เพราะ
ปฏิกิริยาจำนวนมากในเมแทบอลิซึมเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชันบางชนิดให้พลังงานชีวเคมีเพื่อสร้างสาร ATP ได้
3. สารต้นตอสำหรับกระบวนการชีวสังเคราะห์สังเคราะห์ (biosynthetic precursor) ได้แก่สารที่มีโครงสร้างง่ายๆ นับตั้งแต่คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แอมโมเนีย (NH3) อะซิเตต (CH3COO-) รวมไปถึงกลูโคสและกรดอะมิโนที่ร่างกายได้จากการย่อยสลายอาหาร

เม็ดเลือดขาว

เม็ดเลือดขาวชุด ลิมโฟซัยท์ (Lymphocyte) เซลล์อ่อนสุดในระบบนี้ คือ Lymphoblast ซึ่งจะเจริญไปเป็น Prolympholyte และ Lymphocyte ตามลำดับ เด็กๆ จะมีลิมโฟซัยมากกว่าผู้ใหญ่ ความผิดปกติของเซลล์ในระบบนี้จะพบได้เวลามีการติดเชื้อไวรัสบางชนิด มะเร็งเม็ดเลือดขาวลิมโฟซัยท์ยังแบ่งออกเป็น
1. B-Lymphocyte
2. T-Lymphocyte
3. Null-cell (non-B, non-T Lymphocyte)
เซลล์ทั้งสามนี้ถ้าย้อมสีส่องจะดูเหมือนๆ กัน แต่สามารถแยกชนิดได้โดยวิธีการทางอิมมูโนวิทยา B-Lymphocyte จะมีหน้าที่สร้างภูมิต้านทาน เรียกว่า แอนติบอดี (Antibody) หรือ อิมมูโนโกลบูลิน (Immuno Globulin) ในกระบวนการตอบสนองที่เรียกว่า Humorol Immune response ในการกระตุ้นของแอนติเจนโดยมีเซลล์อื่นๆ ร่วมด้วยคือ T-Lymphocyte, Macrophage และสารที่หลั่งจากเซลล์เหล่านี้ เรียกว่า Lymphokines
เซลล์ Lymphocyte นอกจากจะมีส่วนร่วมในการกระตุ้น B-Lymphocyte ให้สร้างแอนติบอดีแล้ว ยังมีหน้าที่ในการตอบสนองต่อการสร้างภูมิคุ้มกันชนิดใช้เซลล์ (Cell-Meaiated Immune Resonse)
ส่วน Null cell หรือ Natural Killer Cell มีหน้าที่ทำลายเซลล์แปลกปลอมหรือเซลล์มะเร็งโดยการหลั่งสารที่เรียกว่า NKCF (Natural Killer Cytotoxic Factor)
จะเห็นได้ว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวกลุ่มลิมโฟซัยท์ มีหน้าที่ต่างๆ มากมาย ส่วนใหญ่จึงแยกไปศึกษาในวิชาอิมมูโนวิทยา

ความดันโลหิตต่ำ

ความดันโลหิตต่ำ
เป็นที่ทราบกันว่าโรคความดันโลหิตสูงนั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างยิ่ง จึงทำให้ผู้คนเอาใจใส่และให้ความสำคัญทว่าภัยของโรคความดันโลหิตต่ำนั้นคนทั่วไปมักไม่รู้เท่าทัน
เรามักจะพบผู้ป่วยที่มีอาการวิงเวียนหน้ามืด อ่อนเพลีย ไม่สดชื่นแม้ว่านอนหลับและทานอาหารได้ดีตามปกติ อีกทั้งยังเสริมอาหารและวิตามินบำรุงร่างกายอย่างเต็มที่
ส่วนด้านการงานก็ไม่ได้เหน็ดเหนื่อยและไม่มีความกดดัน ทว่ายังคงรู้สึกอ่อนเปลี้ยเพลียแรง โดยเฉพาะหลักจากรับประทานอาหารมือกลางวันแล้วจะรู้สึกง่วงซึม
เรี่ยวแรงหดหาย นั่งฟุบโต๊ะหาวหวอดๆ จนน้ำหูน้ำตาไหล ไม่มีสมาธิในการทำงานยิ่งไปกว่านั้นอาจมีอาการใจสั่น ขี้หนาว ในขณะที่เพื่อนร่วมงานล้วนคิดว่าอุณหภูมิ
จากเครื่องปรับอากาศกำลังพอเหมาะแต่ตนเองกลับรู้สึกว่าช่างหนาวเย็นจับใจจนต้องสวมเสื้อคลุมทับ แต่พอไปตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาลกลับไม่พบความผิดปกติ
ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้ควรตรวจวัดความดันโลหิตเพราะมีความเป็นไปได้สูงว่าอาการที่เกิดขึ้นจะเป็นผลมาจากความดันโลหิตต่ำ
อย่างไรถึงเข้าข่ายความดันโลหิตต่ำ
โดยทั่วไปในทางการแพทย์ ความดันโลหิตของผู้ใหญ่ที่ต่ำกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอท (MmHg) และความดันโลหิตของผู้สูงอายุที่ต่ำกว่า 100/70 มิลลิเมตรปรอท (MmHg)
จะถูกจัดว่าเข้าข่ายความดันโลหิตต่ำ ซึ่งจะพบบ่อยในสตรีที่ร่างกายอ่อนแอ ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นความดันโลหิตต่ำ

ความดันโลหิตต่ำมีชนิดใดบ้าง...
ความดันโลหิตต่ำแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรัง โดยความดันโลหิตต่ำชนิดเฉียลพลันหมายถึงว่า ความดันโลหิตต่ำลงอย่างฮวบฮาบจากเกณฑ์ปกติ ซึ่งจะแสดงอาการหลัก ๆ คือ หน้ามืดและช็อคหมดสติ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นกับผู้ที่เป็นลมหรือหัวใจล้มเหลว แต่ภาวะความดันโลหิตต่ำที่เราพูดถึงกันโดยทั่วไปนั้นหายถึงความดันโลหิตต่ำชนิดเรื้อรัง ซึ่งแบ่งประเภทได้ดังต่อไปนี้

1.ความดันโลหิตต่ำที่เป็นมาแต่กำเนิดหรือไม่ทราบสาเหตุ: ส่วนใหญ่พบว่าเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมหรือรูปร่างที่อ่อนแอผอมบาง ซึ่งมักจะพบในหญิงสาวรูปร่างผอมเพรียวและผู้สูงอายุ บางรายไม่แสดงอาการเจ็บป่วยใด ๆ แต่ในรายที่เป็นมากอาจจะมีอาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรง ใจสั่น วิงเวียน ศีรษะ ปวดศีรษะหรืออาจจะถึงขั้นเป็นลม โดยเฉพาะในหน้าร้อนที่อุณหภูมิสูงอาการจะยิ่งชัดเจนขึ้น

2.ความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนอิริยาบถ: หมายถึงความดันโลหิตจะลดต่ำลงอย่างรวดเร็วจากการเปลี่ยนท่าทางจากการนอนมาเป็นการนั่งหรือยืนในทันที หรือมีการยืนนาน ๆ ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ส่งผลให้สมองทำงานผิดปกติจนเกิดอาการเวียนศีรษะ ตาพร่า คลื่นไส้ ใจสั่น ปวดต้นคอ ปวดหลังฯลฯ

3.ความดันโลหิตต่ำจากการใช้ยาหรือการเจ็บป่วยของร่างกาย: เช่น ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยกว่าปกติ โรคมะเร็ง โรคตับอักเสบ วัณโรค โรคหัวใจรูมาติก ขาดสารอาหารเรื้อรัง ยาลดความดันโลหิต ยากกล่อมประสาท ยาต้านโรคซึมเศร้า เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงใช้ยาความดันมากเกินขนาดเพื่อให้ความดันโลหิตต่ำลงโดยเร็วและลดต่ำลงมากยิ่งขึ้น ก็จะส่งผลให้ความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างเฉียบพลันหลังปัสสาวะ เนื่องจากปัสสาวะถูกขับออกไปทำให้ความดันในช่องท้องลดต่อลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่กลับไปสู่หัวใจลดน้อยลงด้วย ทำให้เกิดอาการเป็นลมเนื่องจากความดันโลหิตต่ำลงอย่างเฉียบพลันซึ่งมักจะเกิดขึ้นในระหว่างที่ผู้สูงอายุตื่นขึ้นมาปัสสาวะกลางดึง

โรคความดันโลหิตต่ำมีอาการอย่างไร

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตต่ำบางรายจะไม่แสดงอาการเจ็บป่วยใด ๆ แต่บางรายจะมีอาการหูอื้อ ปวดศีรษะ ตาลาย ปวดหลังและบั้นเอว มือเท้าเย็น อ่อนเพลีย สมองล้า ขี้หลงขี้ลืม ขาดสมาธิ หรือรู้สึกว่าสมองถูกบีบคั้น ปวดแสบปวดร้อน หรือท้องเดิน ท้องผูก มีแก๊สสะสมในลำไส้ ท้องอืดท้องเฟ้อ อาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ หรือประจำเดือนมาผิดปกติ ฯลฯ

อันตรายจากความดันโลหิตต่ำไม่อาจมองข้ามได้

คนส่วนใหญ่มักจะเข้าใจว่าความดันโลหิตและไขมันในเลือดนั้นเหมือนกันคือยิ่งต่ำยิ่งดี ทว่าแม้จะต่ำก็ต้องมีขีดจำกัด หากความดันโลหิตต่ำเกินไปย่อมส่งผลร้ายต่อร่างกาย ทำให้เลือดไหลเวียนช้าลง เลือดไปหล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่เพียงพอ ง่ายต่อการเกิดลิ่มเลือดทำให้หลอดเลือดอุดตัน หลอดเลือดฝอยส่วนปลายในร่างกายขาดเลือดไปเลี้ยง รวมท้งเกิดการคั่วของคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึมและที่สำคัยคือ อาจจะเกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสมองเนื่องจากขาดออกซิเจนและสารอาหารไปหล่อเลี้ยง ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หน้ามืด ขี้หลงขี้ลืมสมองล้า ไม่มีสมาธิฯลฯ หากไม่มีการบำบัดอย่างทันท่วงทีอาจทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของร่างกายลดลง ความสามารถในกาองมองเห็นและการได้ยินลดลง อ่อนเพลียซึมเศร้าก่อให้เกิดอาการอัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุหรือเป็นตัวเร่งอาการให้หนักขึ้นหรืออาจส่งผลให้หกล้มเนื่องจากเป็นลม ทำให้กระดูกหักได้ อีกทั้งเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบตันหรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดด้วย

การแพทย์จีนมีวิธีบำบัดโรคความดันโลหิตต่ำอย่างไร...

การแทพย์จีนได้จัดโรคความดันโลหิตต่ำให้อยู่ในกลุ่มโรคที่เกิดจากการพร่องลงของพลังซี่และเลือดในร่างกายหรือที่เรียกว่าชี่พร่อง-เลือดพร่องนั่นเอง เลือดกับพลังชี่มีคุณสมบัติต่างกันคือ เลือดเป็นหยินชอบอยู่นิ่งและให้ความชุ่มชื้น ส่วนพลังชี่เนหยางชอบความเคลื่อนไหวและให้ความอบอุ่น ความสัมพันธ์ของเลือดกับพลังชี่แท้ที่จริงแล้วก็คือความสัมพันธ์ของหยิน-หยางในระบบการไหลเวียนของเลือดนั่นเอง

-เลือดกับพลังชี่ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน; กระบวนการเกิดและการสร้างเลือดต้องอาศัยพลังชี่และการเคลื่อนไหวของพลังชี่ ถ้าพลังชี่สมบูรณ์ เลือดก็จะสร้างขึ้นมาได้อย่างเพียงพอ และในทางกลับกันพลังชี่ก็ต้องอาศัยเลือดไปหล่อเลี้ยงและให้ความชุ่มชื้น การไหลเวียนของเลือดจะนำพาพลังชี่ไปสู่ทุก ๆ เซลล์ของร่างกาย ถ้าเลือดพร่องลง พลังชี่ก็จะพร่องตามไปด้วย ทำให้ชี่พร่องและเลือดพร่องมักจะเกิดขึ้นร่วมกันอยู่เสมอ

-พลังชี่ผลักดันการไหวเวียนของเลือด: เลือดเป็นหยินชอบอยู่นิ่งไม่สามารถไหลเวียนได้เองต้องอาศัยแรงผลักดันจากพลังชี่ จึงกล่าวได้ว่า พลังวิ่งเลือดเดิน พลังนิ่งเลือดหยุด ถ้าพลังชี่พร่องลง เลือดก็จะไหลเวียนช้าลง ทำให้ชี่และเลือดไม่สามารถไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงร่างกายอย่างทั่วถึงส่งผลให้เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำ อวัยวะต่าง ๆ ได้รับการหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอจนเกิดโรคภัยไข้เจ็บได้

การแพทย์แผนจีนจึงนิยมให้วิธีบำรุงชี่-บำรุงเลือดเพื่อบำบัดภาวะความดันโลหิตต่ำ เมื่อชี่-เลือดในร่างกายสมบูรณ์ขึ้น ความดันโลหิตก็จะค่อย ๆ กลับสู่ภาวะปกติอาการต่าง ๆ ที่เกิดจากโรคความดันโลหิตต่ำก็จะทุเลาลงหรือหายไปในที่สุด

วิธีการดูแลร่างกายสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตต่ำ


1.วัดความดัน: หมั่นวัดระดับความดันโลหิตของตนเองอย่างสม่ำเสมอ และใส่ใจกับการเปลี่ยนแปลงของระดับความดันโลหิตในร่างกาย

2.พักผ่อนให้เพียงพอ: ความเหน็ดเหนื่อย การนอนหลับไม่เพียงพอต่างก็ยิ่งทำให้ความดันโลหิตต่ำลง ดังนั้น ควรหลีกเลี่ยงการตรากตรำทำงานเกินควร หลีกเลี่ยงการนอนดึก และเวลานอนหลับไม่ควรนอนหนุนหมอนที่ต่ำเกินไป

3.หลีกเลี่ยงการยืนนาน ๆ หรือเปลี่ยนอิริยาบทอย่างรวดเร็วเกินไป: การเก็บของไม่ควรก้มศีรษะลงโดยตรงแต่ควรทรุดตัวนั่งยอง ๆ ลงก่อน ยามตื่นนอนไม่ควรลุกยืนขึ้นมาในทันทีทันใด แต่ควรรอให้แน่ใจว่าร่างกายเข้าที่เข้าทางแล้วจึงค่อยๆ ลุกขึ้น

4.ใส่ใจสภาพแวดล้อมและการแต่งกาย: ไม่ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่อากาศร้อนอบอ้าวนานเกินไป เพราะจะทำให้หลอดเลือดขยายตัว ความดันโลหิตต่ำลง นอกจากนี้การผูกเน็คไทแน่นเกินไป การสวมเสื้อที่มีปกเสื้อสูงหรือคอเสื้อแคบเกินไปอาจจะไปกดทับหลอดเลือดแดงบริเวณต้นคอส่งผลให้ความดันต่ำลงจนหน้ามืดเป็นลมได้

5.เพิ่มสารอาหารให้เพียงพอ: ผู้ที่มีแนวโน้มเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำนั้น หากได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะทำให้ความดันโลหิตยิ่งต่ำลงไปอีก แต่หากเสริมอาหารให้เพียงพอจะช่วยให้ความดันโลหิตเข้าใกล้ระดับปกติมากยิ่งขึ้นอาการที่ไม่พึงประสงค์ต่าง ๆ ก็มีโอกาสที่จะลดลงหรือหายไปได้
6.ลดการรับปรทานอาหารที่ทำให้ความดันโลหิตต่ำลง: เช่น เชลเลอรี ฟักเขียว ถั่วเขียว มะระ หอมหัวใหญ่ สาหร่ายทะเล หัวไชเท้า เป็นต้น

7.ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ: การออกกำลังกายทำให้ระบบประสาทเกิดความสมดุล หลอดเลือดหัวใจแข็งแรงทั้งยังรักษาความดันโลหิตต่ำให้ดีขึ้น

8.เลือกประเภทการออกกำลังอย่างเหมาะสม: ผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตต่ำขณะเปลี่ยนอิริยาบท ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังที่ต้องยืนนาน ๆ หรือต้องเปลี่ยนท่าทางบ่อย ๆ ส่วนผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตต่ำจากโรคภัยไข้เจ็บในร่างกายก่อนการออกกำลังควรตรวจสอบสมรรถภาพร่างกายก่อนทางที่ดีควรออกกำลังภายใต้คำแนะนำของแพทย์และครูผู้เชี่ยวชาญ

9.ใช้ยาอย่างระมัดระวัง: หากต้องไปพบแพทย์เนื่องจากอาการเจ็บป่วยใด ๆ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบล่วงหน้าว่าตนมีอาการความดันโลหิตต่ำ เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ส่งผลให้ความดันโลหิตลดต่ำลงไปอีก

ที่มา : หนังสือพิมพ์คมชัดลึก

Kaempferol คือเฟอรอลคืออะไร

Kaempferol คือเฟอรอลคืออะไร
เฟอรอลบริสุทธิ์เป็นผงสีเหลือง Amphoral เป็นหนึ่งใน flavonoids สำคัญที่สุดและแพร่หลายมากที่สุด (มีทั่วไป C6 - C3 - C6 โครงสร้าง)
ฟอรอลเป็นปัจจุบัน flavonoid ในแหล่งธรรมชาติต่างๆรวมถึงแอปเปิ้ล, หัวหอม, กระเทียม, ผลไม้เช่นมะนาว, องุ่น, ไวน์แดง, gingko biloba, สาโทเซนต์จอห์น
ประโยชน์ต่อสุขภาพของเฟอรอล
Keampferol เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่แข็งแกร่งและยังช่วยป้องกันความเสียหายที่เกิดเป็นเซลล์ไขมันของเราและดีเอ็นเอ
เฟอรอลดูเหมือนว่าจะป้องกันภาวะหลอดเลือดโดยการยับยั้งการออกซิเดชันของไลโปโปรตีนความหนาแน่นต่ำและการก่อตัวของเกล็ดเลือดในเลือด
การศึกษาได้รับการยืนยันว่ายังทำหน้าที่เป็นตัวแทน chemopreventive เฟอรอลซึ่งหมายความว่าจะยับยั้งการก่อตัวของเซลล์มะเร็ง
ในหลอดทดลองโดย Jan Kowalski et al (เภสัชวิทยารายงาน, 2005) พบว่าเฟอรอลยับยั้งโปรตีน chemoattractant monocyte
(MCP - 1) MCP - 1 มีบทบาทในขั้นตอนเริ่มต้นของการเกิดคราบจุลินทรีย์หลอดเลือด

และเฟอรอล flavonoids quercetin ดูเหมือนว่าจะทำหน้าที่ synergistically ในการลดการเพิ่มจำนวนเซลล์ของเซลล์มะเร็งซึ่งหมายความว่าการรักษาร่วมกับ
quercetin และเฟอรอลจะมีประสิทธิภาพมากกว่าผลบวกของแต่ละ flavonoid นี้ถูก Ackland สรุป ML จากการศึกษาโดย et al (In Vivo, Feb 2005)
เรื่อง"การดำเนินการ antiproliferative กันอย่างลงตัวของ quercitin flavonols และเฟอรอลในการเพาะเลี้ยงเซลล์มะเร็งของมนุษย์""

การศึกษา"ยับยั้งการเจริญของฟังก์ชั่นพีไกลโคโปรตีนและการแสดงออกโดยเฟอรอลและ quercetin"โดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
ไทย, เฟอรอลพบว่าสามารถช่วยในการต่อสู้กับโรคมะเร็งเพราะจะช่วยลดความต้านทานของเซลล์มะเร็งต่อยาต้านมะเร็งเช่น vinbalstine และ paclitaxel

ภูมิคุ้มกัน

วิทยาภูมิคุ้มกัน หรือ วิทยาอิมมูน (อังกฤษ: Immunology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งในวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันในสิ่งมีชีวิต
โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกลไกการทำงานทางสรีรวิทยาของระบบภูมิคุ้มกันทั้งในสภาพร่างกายที่ปรกติและเมื่อเกิดพยาธิสภาพขึ้น
พยาธิสภาพอาจจะเกิดจากสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกเช่น เชื้อโรคหรือจากสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ (allergen) รวมทั้งโรคที่มีความผิดปรกติทางระบบภูมิคุ้มกันเช่น
โรคภูมิคุ้มกันต่อต้านร่างกายตัวเอง (autoimmune) โรคภูมิคุ้มกันไวผิดปรกติ (hypersensitivity) โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
(immunodeficiency) ภาวะการต่อต้านอวัยวะใหม่ (graft rejection) เป็นต้น นอกจากนี้วิชาภูมิคุ้มกันวิทยายังได้ศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับหน้าที่และคุณสมบัติต่างๆ
ของระบบภูมิคุ้มกันโดยเฉพาะการทำงานของแอนติบอดี ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์เช่น
ในทางการแพทย์ใช้แอนตีบอดีในการวินิจฉัยจากปริมาณสารที่พบในโรคหรือสภาวะบางจากพลาสมาหรือเนื้อเยื่อ
และทางการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้นำมาใช้ในการวัดปริมาณของโปรตีนในตัวอย่างทางชีวภาพต่างๆ

ความดันโลหิตสูง

ความดันโลหิตสูง
ทุกๆคนต้องมีความดันโลหิต เพราะความดันโลหิตจะเป็นแรงผลักดันให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆของร่างกาย ดังนั้นทุกคนควรจะเรียนรู้เกี่ยวกับความดันโลหิต
และรักษาให้ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพราะความดันโลหิตสูงจะทำให้เกิดหลอดแข็งและตีบ
เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดง ทำให้เกิดความดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ และแรงต้านทานของหลอดเลือด
หัวใจคนเราเต้น 60-80ครั้งความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัว และลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากันตลอดเวลาขึ้นกับท่า
ความเครียด การออกกำลังกาย การนอนหลับ แต่ไม่ควรเกิน 140/90 หากสูงกว่านี้แสดงว่าคุณเป็นโรคความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง
ดังนั้นการป้องกันความดันโลหิตสูงสามารถป้องกันอัตราการตายจากโรคหัวใจ และโรคอัมพาต โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิตของทุกท่านเนื่องจากไม่มีอาการเตือนดังนั้น
การจะทราบว่าเป็นความดันโลหิตสูงจำเป็นต้องวัดความดันโลหิต

ความดันโลหิตแค่ไหนจึงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
เมื่อตรวจร่างกายแล้วว่าความดันโลหิตสูงต้องรับประทานยาทันทีหรือไม่
เมื่อท่านตรวจพบความดันโลหิตสูงถ้าไม่สูงมากอาจจะไม่จำเป็นต้องรับประทานยา
แต่หากสูงมากก็จำเป็นต้องรับประทานยา ตารางข้างล่างจะเป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วย

ความดันโลหิตที่วัดได้ (mm Hg)
ความรุนแรงของความดันโลหิต - ความดันโลหิตที่ต้องการ
Systolic - น้อยกว่า 120
Diastolic - น้อยกว่า 80
จะต้องทำอะไร - ให้ตรวจซ้ำใน 2 ปี

ความรุนแรงของความดันโลหิต - ความดันโลหิตสูงขั้นต้น Prehypertensionl
Systolic - 130-139
Diastolic - 85-89
จะต้องทำอะไร - ตรวจซ้ำภายใน 1 ปี

ความดันโลหิตสูง - ความดันโลหิตสูงระดับ 1 Stage 1 (mild)
Systolic - 140-159
Diastolic - 90-99
จะต้องทำอะไร - ให้ตรวจวัดความดันอีกใน 2 เดือน

ความดันโลหิตสูง -ความดันโลหิตสูงระดับ 2 Stage 2 (moderate)
Systolic - มากกว่า 160
Diastolic - มากกว่า 100
จะต้องทำอะไร - ให้พบแพทย์ใน 1 เดือน

สาเหตุของความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงส่านใหญ่ไม่ทราบสาเหตุเรียก primary หรือ essential hypertension
เราสามารถควบคุมความดันโลหิตได้แต่รักษาไม่หายดังนั้นจึงจำเป็นต้องป้องกัน ส่วนที่ทราบสาเหตุเรียก secondary hypertension
เช่น เนื้องอกต่อมหมวกไต ยาคุมกำเนิด หากทราบสาเหตุสามารถรักษาให้หายขาดได้

Primary hypertension หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า essential hypertension เป็นความดันโลหิตสูงที่พบมากที่สุดกลุ่มนี้ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
แต่มักจะพบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารเค็ม อ้วน กรรมพันธุ์ อายุมาก เชื้อชาติ และการขาดการออกกำลังกาย

Secondary hypertension
เป็นความดันโลหิตสูงที่ทราบสาเหตุ พบได้ประมาณร้อยละ 5 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสาเหตุที่พบได้บ่อยคือ

โรคไต ผู้ป่วยที่มีหลอดแดงที่ไปเลี้ยงไตตีบทั้งสองข้างมักจะมีความดันโลหิตสูง
เนื้องอกที่ต่อมหมวกไตพบได้สองชนิดคือชนิดที่สร้างฮอร์โมน hormone aldosterone ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับเกลือ
แร่โปแตสเซียมในเลือดต่ำ อีกชนิดหนึ่งได้แก่เนื้องอกที่สร้างฮอร์โมน catecholamines เรียกว่าโรค Pheochromocytoma ผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตสูงร่วมกับใจสั่น
โรคหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ Coarctation of the aorta พบได้น้อยเกิดจากหลอดเลือดแดงใหญ่ตีบบางส่วนทำให้เกิดความดันโลหิตสูง
อ้างอิงข้อมูล -

Gypenosides

ประโยชน์ด้านสุขภาพ Gypenosides
Gypenosides เป็น saponins สารสกัดที่ได้จาก Gynostemma pentaphyllum Makino ที่เรียกว่าเป็น Jiaogulan . Gypenosides
ได้ถูกใช้สำหรับการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบและ มะเร็ง
ในเอเชียโดยเฉพาะประเทศจีน Gypenosides ยับยั้งการโจมตีและปรับปรุงการเรียกคืนของ fibrosis ตับที่เกิดจาก CCl (4) ในหนู

Gypenosides และสารสกัดจากเมล็ดองุ่นสำหรับโรคเบาหวาน
gypenosides ผสมเมล็ดองุ่นมาของ procyanidins และบรรเทาดื้อต่ออินซูลินในหนูและเซลล์ HepG2
วิทย์อาหารเจ 2009 Jan; คณะกรรมการอาหารและโภชนาการวิทยาศาสตร์วิศวกรรมการเกษตรจีน. Univ College, ปักกิ่ง, จีน
การศึกษานี้เป็นการศึกษาผลกระทบของการ procyanidins ที่ได้จากเมล็ดองุ่น, gypenosides และการรวมกัน procyanidins / gypenosides ที่ดื้อต่ออินซูลินในหนูและเซลล์
HepG2 ข้อมูลของเราแนะนำให้ procyanidins gypenosides มารวมกันของเมล็ดองุ่นและอาจมีการรับรู้ความสามารถในหน้าที่ผู้บริโภคที่มีความต้านทานต่ออินซูลิน

Gypenosides และการตายของเซลล์มะเร็ง
Gypenosides เหนี่ยวนำให้เกิดการตายในออฟมนุษย์ตับ - 7 ช่องผ่านแคลเซียม / ขึ้นอยู่กับชนิด mitochondrial - ทางเดินปฏิกิริยาอ๊อกซิเจน
Planta Med 2007 มิถุนายน การรับปริญญาตรีสาขาวิชาภาษาจีนโพสต์แพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยการแพทย์จีน, Taichung, ไต้หวัน, สาธารณรัฐประชาชนจีน
ขณะนี้มีรายงานมาก่อนที่ gypenosides เหนี่ยวนำให้เกิดการตายในออฟมนุษย์ hepatocarcinoma - 7 เซลล์โดยขึ้นกับ caspase - 9 การเปิดใช้งานน้ำตก mitochondria
เพื่อที่จะไปเที่ยวชมเหตุการณ์ที่สำคัญที่นำไปสู่การตายในเซลล์ที่รับการรักษา gypenoside, ต่อไปนี้ผลกระทบของ gypenosides กับองค์ประกอบของ apoptotic ทางเดิน mitochondrial
มีการตรวจสอบ : รุ่นชนิดออกซิเจนปฏิกิริยา (ROS), การเปลี่ยนแปลงของเมมเบรนที่อาจเกิดขึ้น mitochondrial (MPT) และกระจายตัวในเซลล์ของ Bcl - 2 และ
Bax เราจึงเสนอว่าในการขึ้น intracellular Ca (2 +) ความเข้มข้นยังมีบทบาทสำคัญในการเริ่มต้นของ gypenosides เรียกตาย apoptotic

หน่วยความจำและฟังก์ชันทางปัญญา
LXXIV Gypenoside Ameliorates Scopolamine - ชักนำให้เกิดการเรียนรู้ในหนูที่ขาดดุล
Planta Med 26 มกราคม 2010 Joh EH, เจดับบลิวยาง, DH Kim ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวิตและ Nanopharmaceutical และภาควิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม,
Kyung Hee University, Dongdaemun - ku, โซล, เกาหลีใต้
Gypenoside LXXIV (G - 74) ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ GYNOSTEMMA pentaphyllum Makino (GP; ครอบครัว Cucurbitaceae)
ที่แยกได้และผลกระทบของการเพิ่มหน่วยความจำทำการศึกษาในหนู scopolamine รับการรักษาในการหลีกเลี่ยง - พาสซีฟและการทดสอบมอร์ริสเขาวงกตน้ำ
G - 74 หน่วยความจำจากการด้อยค่าที่เกิดจากการกลับรายการ potently scopolamine G - 74 ยังสั้นลงอย่างมีนัยสำคัญ scopolamine -
นานหนีศักยภาพในน้ำทดสอบเขาวงกตมอร์ริส (0.05 p <) และเพิ่มขึ้น - สั้นลงว่ายน้ำครั้ง scopolamine ภายใน Quadrant แพลตฟอร์ม จากผลเหล่านี้,
G - 74 อาจปรับปรุงการเรียนการขาดดุล

ขึ้นไปซึ่งมีศักยภาพเป็น antixodiants, catechins จาก สารสกัดชาเขียว หรือ gypenosides จาก Jiaogulan?
เราไม่ได้เห็นการศึกษาเปรียบเทียบกับ

ความสำคัญของ ginsenosides

Ginsenosides เป็นกลุ่มพิเศษของ saponins triterpenoid ว่าสามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มโดยโครงกระดูกของ aglycones ของพวกเขาคือ
dammarane และชนิด oleanane Ginsenosides พบเกือบเฉพาะในชนิด Panax (โสม) และถึงตอนนี้กว่า 150 ginsenosides เกิดขึ้นตามธรรมชาติได้รับการคัดแยกได้จากรากใบ / ลำต้น, ผลไม้, และ / หรือหัวหน้าดอกไม้ของโสม Ginsenosides ได้รับการกำหนดเป้​​าหมายของมากของการวิจัยที่พวกเขาเชื่อว่าเป็นหลักการที่ใช้งานหลักที่อยู่เบื้องหลังการเรียกร้องของ ginsengs ประสิทธิภาพ ผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นของ ginsenosides ที่ถูกกล่าวถึงในบทนี้รวมถึง anticarcinogenic, ภูมิคุ้มกัน, ต้านการอักเสบ, antiallergic, antiatherosclerotic,
ลดความดันโลหิตและผลกระทบเบาหวานรวมทั้งกิจกรรม antistress และผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง Ginsensoides สามารถ metabolized ในกระเพาะอาหาร (กรดไฮโดรไลซิ) และในทางเดินอาหาร (การย่อยของแบคทีเรีย) หรือเปลี่ยนเป็น ginsenosides อื่น ๆ
โดยการอบแห้งและการอบไอน้ำของโสมเพื่อ ginsenosides เพิ่มเติม bioavailable และออกฤทธิ์ทางชีวภาพ metabolization และการแปลงของ ginsenosides ครบถ้วนซึ่งดูเหมือนว่าจะมีบทบาทสำคัญต่อผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นของพวกเขาจะกล่าวถึง เทคนิคการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิง
ปริมาณสำหรับการวิเคราะห์ของ ginsenosides มีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์โสมและพืชและสำหรับการคำนวณหาผลกระทบของการประมวลผลของพืชรวมทั้งการกําหนดการเผาผลาญอาหารและการดูดซึมของ ginsenosides เทคนิคการวิเคราะห์สำหรับการวิเคราะห์ของ ginsenosides ที่อธิบายไว้ในบทนี้เป็นชั้นบาง chromatography (TLC), ประสิทธิภาพสูงของเหลว chromatography (HPLC) ร่วมกับเครื่องตรวจจับต่างๆแก๊ส (GC), colorimetry, immunoassays เอนไซม์ (EIA), เส้นโลหิต electrophoresis (CE), กำทอนแม่เหล็กนิวเคลียร์ spectroscopy (NMR) และวิธีสเปก

Ginsenosides เป็นส่วนประกอบที่ใช้งานอยู่ pharmacologically ในโสม Ginsenosides เป็น saponins triterpene ginsenosides ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยโครงกระดูก dammarane (17 คาร์บอนในโครงสร้างสี่ - ring) กับ moieties น้ำตาลต่างๆ (เช่นกลูโคส, rhamnose ไซโลสและการเจริญ ได้แก่ ) แนบมากับ C - 3 และ C - 20 ตำแหน่ง
[ 9 , 10 ] Ginsenosides จะตั้งชื่อเป็น'Rx'ที่'R'ย่อมาจากรากและ'x'อธิบายขั้วโครมาตามลำดับตัวอักษร ตัวอย่างเช่น Ra เป็นสารมีขั้วน้อยที่สุดและ Rb เป็นขั้วโลกมากขึ้นกว่าระ กว่า 30 ginsenosides ได้รับการระบุและจำแนกออกเป็นสองประเภท : (1) 20 (S) - protopanaxadiol (PPD) (Rb1, Rb2, Rb3, Rc, Rd, Rg3, Rh2, Rs1) และ 20 - protopanaxatriol (PPT) (Re, Rf, Rg1, Rg2, Rh1) ความแตกต่างระหว่าง PPTs และ PPDs เป็นอยู่ของกลุ่ม carboxyl ที่ C - 6 ตำแหน่งใน PPDs นอกจากนี้ ginsenosides
หายากหลายประการเช่นซาโปนิน ocotillol F11 (24 - R - pseudoginsenoside) และ oleanane ซาโปนิน pentacyclic Ro (3,28 - bisdesmoside - O) [ 12 ] นอกจากนี้ยังมีการระบุ

ความสำคัญของ ginsenosides
การบำบัดของเซลล์เพาะเลี้ยงต่างๆโดย ginsenosides พบฤทธิ์ทางชีวภาพหลาย ๆ รวมทั้ง neuroprotection antioxidation, การปรับ angiogenesis และเป็นพิษต่อเซลล์
แต่อาจจะต้อง biotransformation ก่อน ginsenosides กลายเป็นใช้งานในระบบของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม การศึกษาล่าสุดแสดงให้เห็นว่าสาร Ginsenoside มีผลกระทบทางชีวภาพสูงกว่า ginsenosides กิจกรรมต่อต้านเนื้องอกของ Rh2 และ PD ซึ่งเป็นสารของ Rg3 มีศักยภาพมากขึ้นกว่าRg3 Ginsenoside Ginsenosides Rb1, Rb2, Rg1 และเรื่องไม่ได้มีเอนไซม์ตับเดียวกันของมนุษย์ cytochrome P450 ยับยั้งของสาร K, PT และ PD ซึ่งเป็นสารลำไส้ของ PPTs และ PPDs

ข้อมูลจาก http://www.cmjournal.org/content/5/1/20

โสม เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง

โสม เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่นิยมใช้และยอมรับนับถือโดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ชาวจีน ญี่ปุ่น และเกาหลี โดยถือกันมานาน กว่า 5,000 ปี
ว่าเป็นยาวิเศษอันทรงคุณค่ายิ่ง ต่อมาการนิยมใช้โสม ได้แพร่หลายไปยังส่วนต่างๆของโลก และในปัจจุบันมีการเพาะปลูก โสมกันทั่วไปทั้งในประเทศ
จีน ญี่ปุ่นเกาหลี รัสเซีย อินเดีย สหรัฐอเมริกา และแคนาดา
อย่างไรก็ตามโสมมีอยู่ด้วยกันหลายพันธ์ แต่ละพันธ์จะมีสรรพคุณ แตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภูมิอากาศและท้องถิ่นที่ทำการเพาะปลูก
โสมพันธุ์ดีที่สุดนั้นมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Panax ginseng C.A. Mayer เป็นพืชในตระกูล Araliaceae
ซึ่งเป็นโสมพันธุ์ที่นิยมปลูกกันมากในประเทศจีน และเกาหลี
คำว่า Panax มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกแปลว่า "รักษาได้สารพัดโรค "
การเพาะปลูก
การเพาะปลูกโสมมีกระบวนการที่ยุ่งยาก และซับซ้อน โสมสามารถขยายพันธ์ได้ โดยเพาะจากเมล็ดเท่านั้น
ต้นโสมต้องการอุณหภูมิต่ำ สภาพาดินฟ้าอากาศที่เหมาะสมและอุดมสมบูรณ์ การปลูกโสมใช้เวลายาวนานนับจากการเพาะเมล็ด
ซึ่งจะต้องเป็นเมล็ดสุกและแก่เต็มที่จากต้นโสมที่มีอายุประมาณ 5 ปีเท่านั้น โสมที่จะเก็บเกี่ยวเป็นผลผลิตได้จะต้องมีอายุประมาณ 4-6 ปี
ฤดูกาลที่เหมาะสมของการเก็บเกี่ยวโสมที่มีคุณภาพดีที่สุดคือระหว่างเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคมในแต่ละปี

ผลิตภัณฑ์จากรากโสมอาจแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ
1. โสมชนิดสีขาว ได้มาจากรากโสมที่เก็บเกี่ยวมาสดๆ ล้างทำความสะอาดและตากแดดให้แห้ง รากโสมที่แห้งแล้วจะมีสีเหลืองปนขาว ชาวจีนเรียกว่า “ยิ่นเซียม”
2. โสมชนิดสีแดง ทำจากรากชนิดเดียวกับชนิดโสมสีขาวแต่ต่างกันที่วิะการผลิต คือจะนำเอารากโสมสดที่ล้างทำความสะอาดแล้วมาทำการฆ่าเชื้อโรค
โดยการนึ่งด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิ 120๐C –130๐C เป็นเวลานาน 2-3 ชั่วโมง ทำให้รากโสมเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลปนแดง จากนั้นจึงนำไปตากแดดให้แห้งสนิท ชาวจีนเรียกว่า
โสมเกาหลีนิยมใช้มากกว่าโสมสีขาว
สารออกฤทธิ
แม้รากโสมจะได้รับการยอมรับว่ามีประสิทธิผลในการบำบัดรักษาโดยไม่มีข้อโต้แย้งเป็นเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลของโสมในด้านการบำรุงรักษาสุขภาพแต่ในปัจจุบัน
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ทำให้เราสามารถววิเคราะห์ และพิสูจน์โสมในเชิงวิทยาการและเทคโนโลยีได้ เมื่อมีผลการวิเคราะห์และพิสูจน์
ทำให้โสมได้รับความนิยมแพร่หลาย และเชื่อถือกันมากยิ่งขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะในด้านประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในการป้องกันและบำบัดรักษาโรคของโสม โดยไม่มีฤทธิข้างเคียงที่เป็นอันตรายหรือมีความเสี่ยงต่อการเสพติดเหมือนสารเคมีสังเคราะห์อื่นๆ
นักวิทยาศาสตร์ได้นำเอารากโสมและสารสกัดจากรากโสมมาทำการวิเคราะห์และตรวจพิสุจน์พบว่าสารสำคัญที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเป็นพวก Interpene saponins
ชนิดต่างๆ ที่มีชื่อเรียกว่า “Ginsenosides ”.
การวิเคราะห์และตรวจพิสูจน์ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น High Performance Liquid
Chromatography (HPLC), Mass Spectrometry (MS), Nuclear Magnetic Resonance Spectrometry (NMR) เป็นต้น
สามารถแยกและจำแนกสาร Ginsenosides จ ากรากดสมและสารสกัดจากรากโสมได้อย่างน้อย 22 ชนิด
ซึ่งแต่ละชนิดมีคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาแตกต่างกัน เมื่อนำ Ginsenosidesทั้งหมดมาใช้รวมกัน
จะมีฤทธิ์เป็นตัวปรับสภาพร่างกายให้มีความสมดุลย์ตามธรรมชาติ (หยิน-หยาง) ตามที่ร่างกายต้องการ เรียกว่า Adaptogenic agent
Ginsenosides ชนิดต่างๆที่พบในปัจจุบันนั้น มีสารสำคัญหลักอยู่ด้วยกัน 6 ชนิด คือ Rb1, Rb2, Rc, Rd, Re และ Rg
ส่วนที่เหลือเป็นสารฤทธิ์รอง คือ Rb3, Ra, Ra1, Ra3, RO, R1,Rg2, Rg3, Rh1 และอนุพันธุ์เกลืออินทรีย์
นอกจาก Ginsenpsides ชนิดต่างๆ แล้วยังพบว่ารากโสมมีสารประกอบที่มีคุณประโยชน์ ์ต่อร่างกายอีกมากมายกว่าสองร้อยชนิดที่สำคัญได้แก่
สเตอรอล, น้ำมันหอมระเหย, แป้ง, น้ำตาล, วิตามินชนิดต่างๆ กรดอะมิโน และเป็ปไทด์
Ginsenosides เป็นตัวกำหนดคุณค่าของโสม จากการวิเคราห์และตรวจพิสูจน์ด้วย วิทยาการและเทคโนโลยีทันสมัย
พบว่าในโสมต่างพันธุ์หรือแม้แต่ในโสมพันธุ์เดียวกัน แต่ปลูกต่างถิ่น และรากโสมมีอายุไม่เท่ากันจะมีส่วนประกอบของ Ginsenosides
ต่างชนิดกัน และปริมาณ Ginsenosides ในแต่ละชนิดก็ไม่เท่ากัน นอกจากนั้นยังพบว่า Ginsenosides ที่สะสมอยู่ต่ามส่วนต่างๆ
ของรากโสมก็มีจำนวนและปริมาณไม่เท่ากัน กล่าวคือในส่วนรากโสมใหญ่หรือส่วนลำตัว มี Total Ginsenosides เพียง 1.5% ขณะที่ส่วนรากแขนงและ
รากฝอยหรือส่วนที่เป็นแขนขามีอยู่ 3-4% และส่วนหัวมีมากถึง 5-9%
ดังนั้น คุณค่าของโสมจึงไม่ได้อยู่ที่รูปร่างลักษณะของรากโสม แต่ขึ้นอยู่กับจำนวนและปริมาณของ Ginsenosides ที่มีอยู่ในรากโสม
โดยสรรพคุณจะขึ้นอยู่กับจำนวนปริมาณ Ginsenosides ความครบถ้วนของ Ginsenosides แต่ละชนิดในอันตราส่วนที่เหมาะสม
โสมที่เป็นรูปแบบมาตรฐาน
โสมที่เพาะปลูกตามธรรมชาติจะมีจำนวน Ginsenosides ไม่เท่ากัน และมีปริมาณของ Ginsenosides แต่ละชนิดในอัตราส่วนไม่แน่นอน
โดยอาจมีการขาด Ginsenosides บางชนิด หรืออาจมีอยู่บ้างในปริมาณที่ไม่เหมาะสมจนไม่สามารถออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาได้ครบถ้วน
ปัจจุบัน เราสามารถแยกสารประกอบสำคัญของโสมได้จนครบถ้วนและมากขึ้น การทดลองนำ Ginsenosides ทั้ง 22 ชนิดมารวมกันในปริมาณและ
อัตราส่วนต่างๆกันเพื่อทำการศึกษาและวิจัยเพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมและคงที่ เพื่อให้ได้คุณค่าและประโยชน์แก่ร่างกายมากที่สุด ตลอดจนทำการสดสอบเชิง
คลินิกรวมถึงสารออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษ จนปรากฏใช้ได้ผล มีประสิทธิภาพและปลอดภัย จึงได้กำหนดเป็นมาตรฐานเดียวกัน
ซึ่งกรรมวิธีนี้เรียกว่า การจัดทำเป็นมาตรฐาน Standardization และเรียกผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยกระบวนการนี้ว่า “สารสกัดมาตรฐานโสม ”
ผลของโสมต่อร่างกาย
1.เพิ่มสมรรถภาพการทำงานของร่างกาย: คุณสมบัติต่อต้านความเมื่อยล้า Antifatigue effect ของโสม ทำให้ร่างกายมีการปลดปล่อยพลังงานมาใช้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ขณะทำงานหรือออกกำลังกาย สารพลังงาน ATP และ Glycogen ที่มีอยู่ใน กล้ามเนื้อจะถูกใช้หมด
อย่างรวดเร็วและเกิดกรดน้ำนม Lactic Acid เพิ่มขึ้นอย่างมาก ทำให้กล้ามเนื้อเมื่อยล้า สารสกัดจากโสมช่วยให้เยื่อเซลล์สามารถดูดซึมอ๊กกซิเจนเพิ่มขึ้นถึง 21%
มีผลทำให้กระบวนการเผาผลาญภายในร่างกายเพิ่มมากขึ้นร่างกายจึงปลดปล่อยพลังงานได้มากขึ้นขณะเดียวกับอัตราการเกิดกรดน้ำนมก็จะน้อยลง
เนื่องจากได้รับการการสังเคราะห์ให้กลับเป็น Glycongen ใหม่ และมีการสะสม ATP รวดเร็วขึ้น ดังนั้นอัตราการเกิดความเมื่อล้าของกล้ามเนื้อจึงลดน้อยลงด้วย
นอกจากนั้นสารสกัดจากโสมยังช่วยปรับอัตราการเต้นของหัวใจให้กลับคืนสู่สภาพปกติรวดเร็วยิ่งขึ้น ร่างกายจึงเหน็ดเหนื่อยช้าลง มีความอดทนต่อการทำงานได้ดีขึ้น
2. ต้านความเครียด: ผลกระทบจากกระแสการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วในยุคการสื่อสารไร้พรมแดน ทำให้ผู้คนมีอาการผิดปกติในลักษณะต่างๆ ที่ตรวจสอบหาสาเหตุได่ยาก
เป็นต้นว่าอาการทางหัวใจ ปวดศรีษะ นอนหลับไม่สนิท ปัญหาการย่อยอาหารตลอดจน ปัญหาข้อข้องใจในการปฏิบัติภาระกิจประจำวัน
ที่ล้วนก่อให้เกิดความเครียดซึ่งส่งผลกระทบทั้งร่างกายและจิตใจหากทิ้งไว้เป็นวลานาน อาจทำให้กลายเป็นอาการของโรคและอาการผิดปกติที่รุนแรงขึ้น
สารสกัดจากโสมมีคุณสมบัติต้านความเครียด Antistress Effect โดยช่วยปรับสภาพร่างกายและจิตใจให้สามารถอดทนต่อความเครียดได้ในระดับหนึ่ง
โดยฮอร์โมน ACTH จากต่อมใต้สมองจะเป็นตัวควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนต่อมหมวกใต ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวป้องกันและต่อต้านความเครียด โดยเร่งกระบวนการเมตาบอลิสม
Metabolism ต่างๆ เพื่อปลดปล่อยพลังงานและสารออกมาต้านความเครียดได้
3. ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง: Ginsenosides Rg1 จากโสมหรือในสารสกัดโสมมีคุณสมบัติกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางให้ตื่นตัว แต่จะเป็นการออกฤทธิ์ที่แตกต่างจากยา
กระตุ้นประสาทจำพวก Amphetamine หรือ Cocaine จึงไม่ทำให้กระทบกระเทือน ต่อการนานหลับตามปกติ ส่วน Ginsenosides Rb และ Rc
จะออกฤทธิเกี่ยวกับการระงับประสาท ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียด สารสกัดจากโสมจึงมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง โดยเป็นทั้งตัวช่วยให้ประสาทตื่นตัวและระงับผ่อนคลายประสาท
ทั้งนี้การออกฤทธิ์กระตุ้นหรือระงับนั้นจะขึ้นอยู่กับสภาพและความต้องการของร่างกาย
4. ผลต่อสมรรถภาพทางเพศ: เชื่อกันว่าโสมมีฤทธิ์เป็นตัวกระตุ้นกำหนัดทางเพศ แต่การวิจัยค้นความด้วยวิทยาศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ พิสูจน์ว่าโสมไม่ได้มีฤทธิ์ต่อฮอร์โมนเพศ
หากการบำรุงด้วยโสม ทำให้สมรรถภาพร่างกายและจิตใจสมบูรณ์แข็งแรง จึงส่งผลให้สมรรถภาพทางเพศมีความสมบูรณ์ขึ้นไปด้วย
5. ช่วยลดปริมาณน้ำตาลในผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูง: จากากรทดสอบเชิงคลีนิก มีผลชี้ว่า สารสกัดจากโสมอาจทำให้ตับอ่อนหลั่ง อินซูลินออกมา ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ได้ดีขึ้น ช่วยป้องกันการเกิดอาการชาตามนิ้วมือและปลายเท้า การเกิดแผลเน่าเปื่อย นอกจากนี้ Ginsenosides Rb1 และ Re ยังมีฤทธิ์คล้ายอินซูลิน
จึงอาจช่วยลดขนาดการใช้อินซูลินในการรักษาผู้ป่วยเบาหวานได้
6.เพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย: ผลการทดลองทางคลีนิกพบว่าสารสกัดโสมสามารถช่วยให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันสูงขึ้น
นักวิจัยด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพได้ทำการตรวจวิเคราะห์ปฏิกริยาตอบสนองของเม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ
7. ช่วยเร่งฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย: จากการศึกษาวิจัยและผลทางคลีนิกพบว่าโสมสามารถต่อต้านโรคและอันตรายจากรังสีรวมถึงสารพิษต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
เพิ่มภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อโรค แทรกซ้อนบางชนิด ช่วยร่างกายสร้างเม็ดเลือดแดง และเพิ่มสมรรถภาพในการต้านความเครียดซึ่งส่งผลให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้น
จึงทำให้ผู้ป่วยฟื้นตัวหายเป็นปกติจากอาการป่วยได้เร็วขึ้น
8. ช่วยชลอความแก่: กระบวนการเผาผลาญไขมันของร่างกายเพื่อให้เกิดพลังงาน เรียกว่า Lipid oxidation นั้นเป็นสาเหตุทำให้เกิดอนุมูลอิสระที่สลายตัวจากอ๊อกซิเจน
อนุมูลอิสระนี้จะทำลายเนื้อเยื่อของอวัยวะต่างให้เสื่อสลายลง ตามกระบวนการของความชรา โสมและสารสกัดมาตรฐานโสม สามารถทำลายอนุมูลอิสระของอ๊อกซิเจนช่วย
ให้เนื่อเยื่อเสื่อสภาพช้าลงประกอบกับคุณสมบัติเป็นตัวปรับสภาพ "Adaptogenic agent” ของโสมทำให้ร่างกาย และจิตใจ มีความทนทานต่อความกดดัน
ส่งผลในการชลอกระบวนการเสื่อมชราให้ช้าลงทำให้ร่างกายคงความสดใสเยาว์วัยอยู่ต่อไปได้เนิ่นนานขึ้น
พิษวิทยา
การวิจัยทางพิษวิทยาทั้งในเชิงเฉียบพลัน (Acute Toxicity) และเชิงเรื้อรัง (chronic Toxicity) ยังไม่ปรากฏรายงานเกี่ยวกับผลข้างเคียงหรือพิษที่อาจเกิดจากการ
ใช้สารสกัดมาตรฐานโสม แม้จะมีการใช้ติอต่อกันเป็นเวลานาน ดังนั้นการรับประทานโสมหรือการใช้สารสกัดมาตรฐาน จึงมีความปลอดภัยสูงมาก
ใครคือผู้ที่ต้องการโสม
1. ผู้ที่ร่างกายอ่อนล้า หมดกำลังวังชา
2. ผู้ที่ขาดความกระปรีกระเปร่า เชื่องซึม ,
3. ผู้ขาดสมรรถภาพร่างกาย
4. ผู้ที่ต้องการสมาธิ
5. ผู้ที่มีความเครียด
6. ผู้ที่ต้องการมีสุขภาพแข็งแรง มีความมั่นคงทั้งทางร่างกายและจิตใจ
http://www.schumit.com/default.asp?pgid=103

มะเร็งกระเพาะอาหาร

มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งกระเพาะอาหาร หมายถึง มะเร็งที่เกิดขึ้นตรงบริเวณเยื่อบุภายในโพรงกระเพาะอาหาร
เป็นมะเร็งที่พบได้พอประมาณ มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป ในบ้านเรามักจะตรวจพบผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งชนิดนี้ในระยะสุดท้าย
เนื่องจากผู้ป่วยมักจะมาหาหมอเมื่อมีอาการปรากฏชัดเจน ได้แก่ อาการปวดท้องและน้ำหนักลด ซึ่งเป็นระยะที่มะเร็งลุกลามไปมากแล้ว จนสุดจะเยียวยารักษาได้ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคนี้ (เช่น มีญาติเป็นโรคนี้) ควรปรึกษาหมอเพื่อตรวจเช็กก่อนมีอาการผิดปกติ หากมีการตรวจพบตั้งแต่ระยะแรกๆ ก็มีทางรักษาให้หายขาดหรือมีชีวิตยืนยาวได้
ชื่อภาษาไทย มะเร็งกระเพาะอาหาร - ชื่อภาษาอังกฤษ Cancer of stomach, Gastric cancer
สาเหตุ - มีปัจจัยหลายอย่างที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งกระเพาะอาหาร ที่สำคัญได้แก่
1. พันธุกรรม ผู้ที่มีญาติสายตรง เช่น พ่อแม่พี่น้องป่วยเป็นมะเร็งชนิดนี้ มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้มากกว่าผู้ที่ไม่มีพันธุกรรมของโรคนี้
2. การมีประวัติเป็นโรคกระเพาะอักเสบเรื้อรังบางชนิดหรือเป็นโรคแผลกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้นจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า
เฮลิโคแบกเทอร์ไพโลรี (Helicobacter pylori) โรคเหล่านี้ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องแบบโรคกระเพาะเป็นๆ หายๆ เรื้อรัง
3. การดื่มเหล้าจัด หรือสูบบุหรี่
4. การกินอาหารรสเค็มจัด อาหารหมักดอง รมควัน หรืออาหารใส่ดินประสิว
(เช่น ไส้กรอก แหนม กุนเชียง)
5. การกินผักและผลไม้น้อย
6. การมีประวัติเคยผ่าตัดกระเพาะอาหารมานานกว่า 20 ปี
จะเห็นได้ว่าโรคนี้เกิดจากเหตุปัจจัยได้หลายอย่าง คนที่ไม่ได้สูบบุหรี่หรือดื่มเหล้า แต่ถ้ามีปัจจัยอื่น (เช่น พันธุกรรม เป็นแผลกระเพาะอาหารหรือลำ
ไส้เล็กส่วนต้นจากเชื้อแบคทีเรียดังกล่าว กระเพาะอักเสบเรื้อรัง) ก็อาจเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารได้ จึงไม่ควรประมาทว่าตัวเองมีพฤติกรรมสุขภาพดีแล้ว
จะไม่เป็นมะเร็ง ทางที่ดีเมื่อมีอาการผิดสังเกต ก็ควรรีบไปหาหมอตรวจกระเพาะแต่เนิ่นๆ หรือถ้ามีปัจจัยเสี่ยง ก็ควรตรวจเช็กกระเพาะตั้งแต่ก่อนมีอาการแสดง
อาการ
ระยะแรกเริ่มจะไม่มีอาการผิดปกติให้สังเกตเห็นต่อมาเมื่อก้อนมะเร็งโตขึ้นจะมีอาการปวดท้อง รู้สึกหิวง่าย อาหารไม่ย่อย ท้องอืด แน่นท้องตรงบริเวณใต้ลิ้นปี่ หรือเหนือสะดือแบบเดียวกับโรคกระเพาะ ซึ่งในช่วงแรกกินยารักษาโรคกระเพาะ อาหารก็ทุเลาได้จนผู้ป่วยคิดว่าเป็นเพียงโรคกระเพาะธรรมดา
ปล่อยไว้จนต่อมากินยารักษากระเพาะไม่ได้ผล และอาจมีอาการที่รุนแรงเพิ่มเติมตามมา เช่น คลื่นไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ (เป็นสีเลือดเก่าที่ตกค้าง)
คลำได้ก้อนในท้อง ตรงบริเวณเหนือสะดือเป็นก้อนแข็ง ไม่เจ็บ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คลำได้ก้อนต่อมน้ำเหลืองที่แอ่งไหปลาร้าข้างซ้าย ถ้าปล่อยจนกระทั่งมะเร็งลุกลามไปยังอวัยวะต่างๆ ก็จะมีอาการของโรคแทรกซ้อนตามมา เช่น ดีซ่านหรือตาเหลือง (ลามไปตับ) ปวดท้อง อาเจียน (ก้อนมะเร็งอุดตันกระเพาะลำไส้) หายใจหอบเหนื่อย (ลามไปปอด) ปัสสาวะไม่ออกหรือออกน้อย (ลามไปอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ) เป็นต้น

การแยกโรค
ในระยะแรกของการแสดงอาการในผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะอาหาร ซึ่งมีลักษณะปวดหรือแน่นท้องบริเวณลิ้นปี่ จะดูคล้ายโรคกระเพาะ โรคน้ำย่อยไหลกลับ (โรคกรดไหลย้อนหรือโรคเกิร์ด) โรคเหล่านี้หากให้กินยารักษาโรคกระเพาะมักจะทุเลาหรือหายขาดได้ ส่วนมะเร็งกระเพาะอาหารในช่วงแรก หากกินยารักษาโรคกระเพาะ อาจได้ผลชั่วคราว แต่ต่อมาจะไม่ได้ผล อาการในระยะต่อมา คือ คลื่นไส้ อาเจียน น้ำหนักลด จะดูคล้ายมะเร็งหลอดอาหาร (กลืนอาหารลำบาก เริ่มจากกลืนอาหารแข็ง เช่น ข้าวสวยไม่ได้ก่อน) มะเร็งตับ (คลำได้ก้อนแข็ง บริเวณใต้ชายโครงขวา)

การวินิจฉัยโรค
แพทย์จะวินิจฉัยโรคนี้ด้วยการตรวจพิเศษ ปัจจุบันนิยมใช้วิธีส่องกล้องลงไปตรวจดูสภาพภายในกระเพาะอาหาร (เป็นวิธีที่ไม่เจ็บปวดแต่อย่างใด แต่อาจทำให้รู้สึกอึดอัดพะอืดพะอม) จะพบแผลมะเร็ง และไม่ว่าจะพบแผลมะเร็งอย่างชัดแจ้งหรือไม่ แพทย์จะใช้เข็มสะกิดเอาชิ้นเนื้อบนผิวกระเพาะไปพิสูจน์ทางห้องปฏิบัติการบางครั้งแพทย์อาจทำการตรวจโดยวิธีให้ผู้ป่วยกลืนแป้งแบเรียม แล้วถ่ายภาพเอกซเรย์ของกระเพาะลำไส้ เมื่อตรวจพบว่าเป็นมะเร็งกระเพาะอาหารแน่ชัดแล้ว แพทย์จะทำการตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ อีก (เช่น อัลตราซาวนด์ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์) เพื่อประเมินว่ามะเร็งกระจายตัวไปมากน้อยเพียงใด หรืออยู่ในระยะใด (มะเร็งแบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นเล็กน้อยหรือระยะแรก
ซึ่งเซลล์ยังอยู่เฉพาะในผนังกระเพาะอาหารเท่านั้น ส่วนระยะ 4 เป็นระยะสุดท้ายซึ่งมะเร็งแพร่กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายแล้ว)
การดูแลตนเอง
1. ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโรคนี้ (เช่น มีญาติพี่น้องเป็นโรคนี้ ผู้ที่เป็นโรคกระเพาะอักเสบเรื้อรัง หรือติดเชื้อเฮลิโคแบกเทอร์ไพโลรี) ควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจเช็กกระเพาะโดยการส่องกล้อง อาจต้องทำการตรวจเช็กปีละครั้ง ถ้าพบว่าเริ่มมีความผิดปกติ จะได้รีบหาทางป้องกันหรือรักษาให้ได้ผล และมีชีวิตยืนยาว
2. ผู้ที่มีอาการปวดแสบลิ้นปี่เวลาก่อนกินอาหาร หรือจุกแน่นท้องหลังกินอาหาร ถ้าเพิ่งเป็นครั้งแรก
โดยไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ และมีอายุต่ำกว่า 40 ปี ให้กินยาต้านกรด ครั้งละ 15-30 มิลลิลิตร หลังอาหาร 3 มื้อและก่อนนอน ถ้ากินยา 2-3 วันรู้สึกทุเลา ให้กินยาจนครบ 2 สัปดาห์ แต่ถ้าไม่ทุเลาตั้งแต่แรก ควรไปพบแพทย์ ในกรณีกินยา 2 สัปดาห์แล้วไม่หายดี ควรไปพบแพทย์ ถ้าหายดี ควรกินยาจนครบ 6-8 สัปดาห์หากกินยาครบ 6-8 สัปดาห์ แล้วต่อมามีอาการกำเริบก็ควรไปพบแพทย์ เพื่อตรวจหาสาเหตุ นอกจากนี้ ถ้าผู้ป่วยมีลักษณะข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ก็ควรรีบไปพบแพทย์
(1) มีอายุเกิน 40 ปี แม้จะมีอาการเป็นครั้งแรกและไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ ก็ควรปรึกษาแพทย์
(2) มีอาการปวดรุนแรง ปวดนานเกิน 6 ชั่วโมง กระเทือนถูกเจ็บ อาเจียน ถ่ายอุจจาระดำ ตาเหลือง ตัวเหลือง หรือน้ำหนักลด เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ควรไปพบแพทย์โดยเร็ว

3. หากตรวจพบว่าเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร ควรปฏิบัติตัวดังนี้
ติดตามรักษากับแพทย์อย่างจริงจังและต่อเนื่องตามนัด ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ควรหาทางเสริมสร้างกำลังใจ ด้วยการยอมรับความจริง ทำใจให้อยู่กับปัจจุบัน หมั่นทำสมาธิ เจริญสติ สวดมนต์ ภาวนา กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ กินผักผลไม้ เมล็ดถั่วเหลือง เต้าหู้ให้มากๆ ควรเป็นอาหารที่ย่อยง่ายไม่ทำให้ท้องอืดท้องเฟ้อ หมั่นออกกำลังกายเท่าที่ร่างกายจะรับได้เป็นประจำ
การรักษา
การรักษาทางแพทย์แผนปัจจุบัน ประกอบด้วยการผ่าตัด การให้ยาบำบัด (เคมีบำบัด หรือการให้คีโม) การให้รังสีบำบัด (ฉายแสง) ถ้าเป็นระยะแรกๆ แพทย์จะรักษาด้วยการผ่าตัดกระเพาะอาหาร (อาจตัดบางส่วน หรือทั้งหมดแล้วแต่ความรุนแรงของโรค) และให้เคมีบำบัดเป็นหลัก เคมีบำบัดจะให้ต่อเนื่องระยะหนึ่ง เพื่อควบคุมไม่ให้มะเร็งกระจายตัวหรือยุบตัวลง อาจให้ก่อนผ่าตัดหรือหลังผ่าตัด แล้วแต่แพทย์จะเห็นควร การรักษาในขั้นนี้มุ่งหวังให้โรคทุเลาหรือหายขาด และมีอายุยืนยาว
ในรายที่เป็นมาก อาจจำเป็นต้องให้เคมีบำบัดเป็นหลัก บางครั้งอาจร่วมกับการฉายแสง ส่วนการผ่าตัดอาจทำเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ก้อนมะเร็งอุดกั้นทางเดินอาหารหรือทางเดินปัสสาวะ การรักษาในขั้นนี้ ไม่ได้มุ่งหวังให้โรคหาย แต่เพื่อป้องกันหรือบรรเทาภาวะแทรกซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย ประชาชนมักมีความเชื่อผิดๆ ว่า การผ่าตัดมักจะทำให้โรคทรุดหนัก เนื่องเพราะจะเห็นผู้ป่วยส่วนมากที่อยู่ในระยะสุดท้ายมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
ซึ่งแพทย์จำเป็นต้องผ่าตัดช่วยชีวิตหรือบรรเทาอาการทุกข์ทรมาน (ไม่ได้มุ่งหวังให้โรคหาย) ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะมีอาการทรุดหนักตามมาและอยู่ได้ไม่นาน จึงทำให้ประชาชนเกิดความเข้าใจผิดและกลัวการผ่าตัด ส่วนเคมีบำบัด เนื่องจากอาจมีผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ผมร่วง เม็ดเลือดขาวต่ำ (ติดเชื้อง่าย) จนผู้ป่วยบางคนทนไม่ได้ จึงทำให้เกิดความรู้สึกกลัว การรักษาโดยวิธีนี้ จริงๆ แล้วปัจจุบันมีการพัฒนายาเคมีบำบัดให้มีผลดีในการรักษามากขึ้น และลดผลข้างเคียงลง
ข้อเสียคือราคาแพงจนผู้ป่วยบางคนสู้แบกรับภาระค่ารักษาไม่ไหว อย่างไรก็ตาม อาการข้างเคียงมักจะเกิดขึ้นชั่วคราว ผู้ป่วยจะค่อยๆ ทนต่อยาได้มากขึ้น และหลังหยุดยา (เมื่อให้ครบ) ร่างกายก็จะสามารถฟื้นสภาพสู่ปกติได้
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดจากมะเร็งลุกลาม และแพร่กระจายไปยังอวัยวะต่างๆ เช่น
ก้อนมะเร็งอุดกั้นทางเดินอาหาร (มีอาการปวดท้อง ท้องอืด อาเจียน กินอาหารไม่ได้)
มะเร็งอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ (ทำให้ปัสสาวะไม่ออก ไตวาย)
มะเร็งแพร่ไปที่ปอด (ทำให้หายใจลำบาก)
มะเร็งแพร่ไปที่ตับ (ทำให้มีอาการดีซ่าน ท้องบวมน้ำ)
ภาวะตกเลือด (อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระดำ หน้าตาซีดเซียว) หรือมีอาการเจ็บปวด เป็นต้น
การดำเนินโรค
ถ้าเป็นมะเร็งระยะแรก ก็มักจะรักษาให้หายขาดหรือมีชีวิตยืนยาวได้แต่ถ้าเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย การรักษาเพียงแค่ประคับประคอง เพื่อไม่ให้ทุกข์ทรมาน และมักมีชีวิตอยู่ได้ไม่นาน เช่น เป็นระยะที่ 4 ซึ่งมะเร็งลุกลามกระจายทั่วร่างกายแล้ว มักจะอยู่ได้ประมาณ 6-12 เดือน (บางคนดูแลตนเองได้ดี ก็อาจอยู่ได้นานกว่านี้)
การป้องกัน
1. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น งดบุหรี่ เหล้า หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่มีรสเค็ม อาหารหมักดอง รมควัน และอาหารใส่ดินประสิวเป็นประจำ
2. กินผักและผลไม้ให้มากๆ ทุกวัน
ความชุก
โรคนี้พบได้บ่อยพอควร พบมากในคนอายุมากกว่า 40 ปี คนอายุน้อยกว่า 40 ปี ก็อาจพบได้แต่น้อย พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
- นพ. สุรเกียรติ อาชานานุภาพ นิตยสารหมอชาวบ้าน ปีที่ 27 ฉบับที่ 319 พฤศจิกายน 2548